UNESCO
บทความ • บทบาท-ผลงาน
24
เมษายน
2568
ในวาระที่องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ขึ้นทะเบียน “ภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก” เป็นมรดกความทรงจำแห่งโลก ภาพยนตร์อันทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ และสะท้อนแนวคิดเรื่องสันติภาพในบริบทก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่นายปรีดีผลักดันผ่านการนำเสนอภาพ “อยุธยาใหม่”
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
12
พฤษภาคม
2566
รำลึก 16 ปี อนิจกรรม (12 พฤษภาคม 2550 - 2566) ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ สตรีผู้ไม่ท้อต่อผองภัย
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤษภาคม
2566
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ชวนอ่านปฏิทินชีวิตของ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ เนื่องในวาระ 124 ปี ชาตกาล (11 พฤษภาคม 2443 - 2567)
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
3
พฤษภาคม
2566
3 ทศวรรษแห่ง "วันเสรีภาพสื่อมวลชนโลก" (3 พฤษภาคม) ชวนทบทวนสำคัญในการทำงานของคนทำสื่อท่ามกลางวิกฤติหรือความเปลี่ยนแปลงทางสังคม พร้อมถอดรหัสท่าทีและความเคลื่อนไหวในแวดวงสื่อมวลชนของไทย ภายใต้ภูมิทัศน์ทางการเมืองที่แปรเปลี่ยนไปตามพลวัต เพื่อทบทวนการทำหน้าที่ของสื่อมวลชนด้วยหลักการของระบอบประชาธิปไตย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
4
เมษายน
2566
อ่านใจความของมรดกแห่งยุคสมัยจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ในภาพยนตร์ "The King of The White Elephant" หรือ "พระเจ้าช้างเผือก" อีกหนึ่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ซึ่งพิสูจน์แนวคิดทางการเมืองและสังคมของนายปรีดีในวันที่สันติภาพแห้งเหือดไปจากโลกใบนี้
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
22
ตุลาคม
2565
“มหกรรมหนังสือระดับชาติ” ครั้งที่ 27 (Book Expo Thailand 2022) การกลับมาของงานหนังสือพร้อมรูปลักษณ์ใหม่ของศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
21
กันยายน
2565
พลังทางวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อความคิดของมนุษย์ ด้วยการอภิปรายรากฐานเชิงสัญลักษณ์และทฤษฎีของสันติวัฒนธรรม รวมถึงสาเหตุความรุนแรงทางตรงและความรุนแรงเชิงโครงสร้างที่จำแนกไว้ทั้งสิ้น 5 ระดับ พร้อมลู่ทางไปสู่การสร้างสันติภาพ โดยอาศัยรากฐานทางวัฒนธรรมที่เกิดจากศาสนาและความเชื่ออันหลากหลายในเอเชีย และคำวิพากษข้อจำกัดของแนวคิดสันติวัฒนธรรม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
3
กันยายน
2565
หนึ่งในวิธีการสร้างวัฒนธรรมการอ่านที่แข็งแรง คือ การช่วยส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งการอ่านและหนังสือได้อย่างทั่วถึง
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
พฤษภาคม
2565
ในวาระ 122 ปีชาตกาลของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ยังคงมีเรื่องราวสืบเนื่องจากคุณูปการให้รำลึกถึงท่าน อาทิเช่น ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ย่านลาดพร้าว และถนนปรีดี พนมยงค์ ย่านสุขุมวิท ที่จะเล่าถึงในบทความชิ้นนี้[1]
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to UNESCO
22
มีนาคม
2565
ศ.ดร.วิเชียร วัฒนคุณ' เล่าถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นเมื่อครั้งที่เดินทางไปที่ “ยูเนสโก” ณ กรุงปารีส ในการเป็นคณะผู้แทนไทยเพื่อดำเนินการจัดการแถลงชี้แจงต่อคณะกรรมการกลั่นกรองฯ เพื่อทบทวนมติและขอให้เพิ่มชื่อ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในบัญชีรายการที่ได้รับการคัดเลือกเสนอชื่อให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก
.