ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กฎหมายปกครอง

แนวคิด-ปรัชญา
8
ธันวาคม
2567
นายปรีดี พนมยงค์ อธิบายเรื่องรัฐบาลประชาธิปไตยที่บุคคลอื่นซึ่งมิใช่พระเจ้าแผ่นดินเป็นประมุข และรัฐบาลที่อำนาจบริหารได้ตกอยู่แก่คณะบุคคลโดยในทางเศรษฐกิจ อาจจัดแบ่งรัฐบาลเป็น 3 จำพวกตามลัทธิทางเศรษฐกิจ
แนวคิด-ปรัชญา
9
ตุลาคม
2566
กล่าวถึงกฎหมาย กฎระเบียบ ขั้นตอน และแนวทางของราษฎรหรือประชาชนในการทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาต่อพระมหากษัตริย์ รวมถึงลักษณะ บทบาท และขอบเขตที่พระองค์จะทรงวินิจฉัยด้วยตนเอง
แนวคิด-ปรัชญา
2
ตุลาคม
2566
“ว่าด้วยคดีปกครอง” ถึงกรณีหรือเหตุที่ประชาชนเมื่อได้รับกระทบจากการปฏิบัติหรือดุลยพินิจที่ผิดพลาดของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง ประชาชนจะสามารถมีสิทธิฟ้องร้องหรือร้องทุกข์โดยวิธี การฟ้องต่อศาลยุติธรรม การอุทธรณ์คำสั่ง หรืออื่นๆ
แนวคิด-ปรัชญา
26
กันยายน
2566
“การคลังของประเทศ” ว่าด้วยเรื่องลักษณะ ขอบเขต และกิจของการคลังในประเทศที่พึงดูแลเป็นหลักคือ งบประมาณ รายได้ และรายจ่ายของประเทศ การกำหนดรายได้และรายจ่ายของประเทศในรอบหนึ่งปี ตามพรบ. งบประมาณ พ.ศ. 2456 ที่แต่ละกระทรวงต้องจัดเตรียมตามข้อบังคับของกระทรวงการคลังเพื่อเสนอขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต และปฏิบัติตามพระบรมราชานุญาต
แนวคิด-ปรัชญา
18
กันยายน
2566
PRIDI's Law Lecture ในวันนี้ขอเสนอถึงการกระทำของฝ่ายปกครองอีกประการหนึ่งนอกเหนือไปจากการรักษาความสงบเรียบร้อยทั้งในทางตรงและทางอ้อม คือ การส่งเสริมให้ราษฎรมีความสุขสมบูรณ์
แนวคิด-ปรัชญา
13
กันยายน
2566
PRIDI's Law Lecture : การรักษาความสงบเรียบร้อยในทางอรรถคดี เมื่อมีผู้กระทำผิดทางอาชญาเจ้าหน้าที่หรือฝ่ายปกครองสามารถกระทำต่อผู้กระทำผิดได้ 11 ประการ
แนวคิด-ปรัชญา
8
กันยายน
2566
PRIDI’s Law Lecture วันนี้เสนอความเห็นที่มีต่อลักษณะกิจของฝ่ายปกครองถึงความสมควรและขอบเขตการงานในการปกครอง โดยมีสองทัศนะที่แตกต่างกันในจุดมุ่งหมายของการปกครอง รัฐที่เป็นแบบตำรวจ และ รัฐที่เป็นผู้สงเคราะห์
บทบาท-ผลงาน
3
สิงหาคม
2566
เมื่อมนุษย์อยู่รวมกันในรัฐก็จำเป็นต้องมีการปกครอง อันเกี่ยวกับการกระทำในการปกครอง เป็นเจตนาของการปกครองซึ่งเกี่ยวข้องกับกฎหมาย
แนวคิด-ปรัชญา
17
กรกฎาคม
2566
ข้อเขียนชิ้นนี้ชี้แจงถึงรูปแบบของการปกครองสุขาภิบาลในประเด็นต่างๆ อาทิ ระเบียบการปกครองสุขาภิบาล กิจการของสุขาภิบาล การเงินของสุขาภิบาล และ คดีปกครองของสุขาภิบาล ในพระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาลตามหัวเมือง ร.ศ. 127 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมใน พ.ศ. 2458
แนวคิด-ปรัชญา
10
กรกฎาคม
2566
การแบ่งแยกอำนาจบริหารบางอย่างออกจากรัฐบาลกลางเพื่อให้ท้องถิ่นจัดทำเอง (มัธยวิภาค: Décentralisation) จะอยู่ในอำนาจของคณะบุคคลที่ราษฎรในท้องถิ่นนั้นๆ เลือกตั้งขึ้น โดยอาศัยระเบียบการปกครองท้องถิ่นที่อาจกระทำได้โดย (ก) การอนุญาตจากรัฐบาลกลางให้แก่ชุมนุมชนเป็นแห่งๆ มิใช่มีขึ้นตามสภาพแห่งท้องถิ่นนั้นเอง และ (ข) การมีขึ้นโดยสภาพแห่งท้องถิ่นนั้นๆ เอง
Subscribe to กฎหมายปกครอง