ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กวินพร เจริญศรี

ศิลปะ-วัฒนธรรม
21
กรกฎาคม
2567
พาไปชมละครเวทีเรื่องบุพกาลีที่สะท้อนปัญหาครอบครัวและเยาวชนซึ่งดัดแปลงมาจากบทละครเรื่อง God of Carnage (“Le Dieu du carnage”) ผลงานสร้างชื่อของนักประพันธ์หญิงชาวฝรั่งเศส ยัสมินา เรซา (Yasmina Reza) และแนวทางการแก้ไขปัญหาเยาวชนจากทิชา ณ นคร
ศิลปะ-วัฒนธรรม
25
พฤษภาคม
2567
มนัส จรรยงค์ คือ "ราชาเรื่องสั้น" ชาวเพชรบุรี มีผลงานกว่า 1,000 เรื่อง สะท้อนวิถีชีวิตคนไทยอย่างแท้จริง เช่น "ครูแก" การจัดงานรำลึกถึงครั้งนี้ เป็นการเชิดชูเกียรติและสานต่อมรดกทางวรรณกรรมไทยที่มีคุณค่าสูง
ศิลปะ-วัฒนธรรม
19
พฤษภาคม
2567
“เทศกาลหุ่น เพชรบุรีเมืองหนัง” Phetchaburi Harmony Puppet Festival 2024 เป็นเทศกาลประจำปีที่จัดขึ้นเพื่ออนุรักษ์ศิลปะการแสดงหนังและหุ่นของเพชรบุรี โดยรวมพลังจากหลายหน่วยงาน มีการแสดง เสวนา และนิทรรศการ เพื่อสร้างการรับรู้ระดับสากลและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
เมษายน
2567
"หลานม่า" เป็นหนังครอบครัวสะท้อนปัญหาช่องว่างระหว่างวัยและการดูแลผู้สูงอายุอย่างลึกซึ้ง แสดงถึงวุฒิภาวะและศักยภาพของค่าย GDH ในการสร้างหนังคุณภาพระดับสากล สร้างรายได้สูง มีแนวโน้มประสบความสำเร็จระดับนานาชาติ
ศิลปะ-วัฒนธรรม
20
เมษายน
2567
"Prakan Festival 2024" งานเทศกาลศิลปะ-วัฒนธรรมระดับชาติที่จัดขึ้นที่สมุทรปราการ ซึ่งเป็นเมืองปราการสำคัญทางทะเล ภายใต้การดำเนินงานของ TCEB และมูลนิธิหุ่นสายเสมา เพื่อสนองนโยบาย "ยุทธศาสตร์ Soft Power" และส่งเสริม "เศรษฐกิจสร้างสรรค์" ของประเทศ
ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
มีนาคม
2567
บทความนี้ใช้การเดินทางด้วยรถราง เป็นสัญลักษณ์แทนช่วงเวลาหนึ่งในชีวิต ทั้งความหลังอันแสนหวานของความรัก และความสูญเสียที่ต้องผ่านพ้นไป สถานีปลายทางจึงเป็นสัญลักษณ์แทนจุดจบของช่วงเวลาหนึ่ง แต่ก็เป็นการเริ่มต้นใหม่พร้อมด้วยความหวังอีกด้วย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
5
มีนาคม
2567
The Land of Smile (ดินแดนแห่งรอยยิ้ม) ละครเวทีแนวโอเปอเรตตา ที่ถ่ายทอดเรื่องราวความรักของหญิงสาวและเจ้าชายหนุ่ม ท่ามกลางความแตกต่างทางวัฒนธรรม
ศิลปะ-วัฒนธรรม
29
ธันวาคม
2566
‘ศิลปะสื่อแสดงสด’ หรือ ‘ศิลปะสื่อแสดง’ (Performance Art) ยังเป็นสิ่งใหม่สำหรับคนไทย โดยเห็นได้จากการที่เพิ่งได้รับการบรรจุในหลักสูตรการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย เมื่อไม่นานมานี้ แม้ว่าจะเผยแพร่มาจากยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 และเข้าสู่ประเทศไทยมาแล้วกว่า 40 ปี
ศิลปะ-วัฒนธรรม
9
ธันวาคม
2566
“มหกรรมศิลปะร่วมสมัยนานาชาติ เชียงราย” เป็นการนำศิลปินไทยและต่างชาติมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมี Thailand Biennale เป็นตัวกลางของการแลกเปลี่ยนและผลักดันศิลปวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวของไทยบนพื้นที่จังหวัดเชียงรายที่ได้รับการกล่าวขานว่า “เมืองแห่งศิลปะ”
ศิลปะ-วัฒนธรรม
27
พฤศจิกายน
2566
4-5 พฤศจิกายน 2566 ในเทศกาลละครกรุงเทพ ณ หอศิลป์กรุงเทพ สังคมไทยได้ตระหนักรู้ถึงความเป็นวัฒน์ วรรลยางกูร และผลงานอันมีค่าของเขาอีกครั้งหนึ่ง ดังที่ผู้เป็นบุตรได้บอกเล่าถึงความเป็นตัวตนทางความคิดของผู้เป็นพ่อด้วยความรักและภาคภูมิใจในรูป Documentary Theatre
Subscribe to กวินพร เจริญศรี