กวินพร เจริญศรี
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤศจิกายน
2566
นิทรรศการ “๕๐ ปี ๑๔ ตุลา ศิลปะจักสำแดง” ด้วยการร่วมมือกันของมูลนิธิ 14 ตุลาและมูลนิธิเด็ก บอกเล่าการเมืองและเรื่องราวของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 รวมไปถึงงานเสวนาและผลงานที่จัดแสดงบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์การเมืองไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
20
ตุลาคม
2566
กวินพร เจริญศรี นำเรื่องราว ปาฐกถา บทเพลง และบทสนทนาที่เกิดขึ้นภายในงาน “เจ้าฝันถึงโลกสีใด” 14 ตุลา จิตวิญญาณประชาธิปไตย เนื่องในวาระ 50 ปี 14 ตุลา โดยเรียบเรียงออกมาสู่ผู้อ่านอีกครั้งในรูปแบบบทความถึงบรรยากาศ ประเด็น และเนื้อหาสำคัญที่สมควรเน้นย้ำในฐานะของการรำลึก “50 ปี 14 ตุลา”
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
ตุลาคม
2566
ประวัติความเป็นมา บทสัมภาษณ์ และบทวิจารณ์ความเห็นที่มีต่อละครเพลง “WATERFALL A New Musical” รวมไปถึงบทส่งต่อถึงเยาวชนและผู้คนที่สนใจในโลกแห่งละครเวทีถึงวงการละครเวทีของไทยว่าจะพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดได้บ้าง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
30
กันยายน
2566
เรื่องราวและบรรยากาศภายในนิทรรศการ “กลับสู่วันวาน...กลับมากินข้าวด้วยกันนะ” ที่ประกอบไปด้วยมื้ออาหารจานโปรดของผู้ถูกบังคับสูญหาย และเนื้อหาภายในงานเสวนา “เมื่อแตกสลาย… จะกลับคืนสู่สภาพเดิมได้หรือ?” เนื่องในวันผู้สูญหายสากลที่ 30 สิงหาคม 2566 ที่ผ่านมา
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
21
กันยายน
2566
การจัดงานรณรงค์และเฉลิมฉลองวันชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย ประจำปี 2566 เป็นวันเดียวที่จัดร่วมกันไปกับวันสากลชนเผ่าพื้นเมืองโลก (International Day of the World's Indigenous Peoples) ดังที่สหประชาชาติให้ความสำคัญ โดยมีขึ้นในวันพุธที่ 9 สิงหาคม 2566 ณ อาคารหอประชุมศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร กรุงเทพมหานคร ในหัวข้อ “พลังเยาวชนชนเผ่าพื้นเมือง ร่วมสร้างสรรค์สังคมสู่การเปลี่ยนแปลง”
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
6
กันยายน
2566
เชิญชวนผู้อ่านย้อนกลับไปพิจารณาถึงดีเบตนโยบายและวิสัยทัศน์ต่อประเด็นเรื่อง “ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย” ผ่านคำถามทั้งจากผู้จัดและผู้เข้ารับชม เมื่อวันที่ 4 พ.ค. 2566 โดย สมาคมการค้าส่งเสริมอุตสาหกรรมศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
20
สิงหาคม
2566
รางวัลละครเวทีและนาฏศิลป์ร่วมสมัยฯ ครั้งล่าสุดเมื่อปี 2566 นับเป็นอีกปรากฏการณ์หนึ่งที่กระตุ้นและดึงดูดผู้คนให้กลับมาสนใจอีกครั้ง เมื่อละครเวที เรื่อง “ART” ละครผอมซึ่งใช้ต้นทุนการแสดงต่ำ ในขณะที่เน้นการแสดงและตัวบทที่สำคัญเพื่อถ่ายทอดและมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ชม สามารถคว้ารางวัลถึง 4 รางวัลจากทั้งหมด
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
24
กรกฎาคม
2566
วงการศิลปะการแสดงร่วมสมัยของไทยมีการสร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ อยู่เสมอ การแสดงแบบ Intermission ก็เป็นตัวอย่างหนึ่งแห่งรูปลักษณ์ของการเต้นแบบหลังสมัยใหม่ ภายใต้ลีลาที่ซ่อนความหมายไว้ในทุกก้าวที่ขยับร่างกายมนุษย์ อันบอกไว้ด้วยถึงนัยทางการเมืองเพื่อการปลดปล่อยจากอำนาจที่กดทับ
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
กรกฎาคม
2566
“An Imperial Sake Cup and I” เป็นการแสดงในรูปแบบ Lecture Performance โดยมีอาจารย์ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เป็น “ตัวเอก” ของการแสดง ด้วยการทำหน้าที่เล่าเรื่องถ่ายทอดประวัติชีวิตของตนที่สัมพันธ์กับประวัติศาสตร์บ้านเมือง ผ่านถ้วยสาเกซึ่งได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
Subscribe to กวินพร เจริญศรี
13
มิถุนายน
2566
บรรยากาศของการจัดงาน Bangkok Pride 2023 เทศกาลเฉลิมฉลองเพื่อสร้างความตระหนักรู้ถึงความหลากหลาย สิทธิเสรีภาพ และความเท่าเทียมของมนุษย์ โดยปราศจากเพศเป็นกรอบแบ่งแยกชีวิต ผู้เขียนยังเก็บเกี่ยวความหมายของกิจกรรมอื่นๆ เช่น นิทรรศการฝีมือของคนรุ่นใหม่ และ ถอดรหัสละครเวทีเรื่อง "อนธการ" (The Blue Hour)