ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กษิดิศ อนันทนาธร

แนวคิด-ปรัชญา
15
กันยายน
2566
คำว่า “ประชาธิปไตย” มีความหมายที่ไม่หยุดนิ่งตลอดมา แม้จะปรากฏคำนี้ขึ้นในสังคมไทยมายาวนาน แต่ความเข้าใจถึงความหมายทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัตินั้นก็ยังไม่อาจหาคำจำกัดความได้อย่างลงตัวนัก
แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2566
ความคิดเพียงว่า ขบวนการเสรีไทยเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อปกป้องหรือรักษาเอกราช ได้บดบังสาระสำคัญที่ซ่อนอยู่บางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุดมการณ์เพื่อสันติภาพ อธิปไตย และการฟื้นคืนประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2566
ชีวประวัติย่อของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ตลอดจนช่วงชีวิตในอังกฤษระหว่างที่สงครามโลกครั้งที่ 2 พร้อมทั้งบทบาทของพระองค์ในฐานะผู้สนับสนุนกิจการเสรีไทยสายอังกฤษในด้านต่างๆ อีกทั้งชีวิตในบั้นปลายของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ในช่วงทศวรรษที่ 2490 รวมไปถึงความสัมพันธ์ที่แนบแน่นระหว่างพระองค์ กับ ครอบครัวปรีดี - พูนศุข พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กรกฎาคม
2566
เรื่องราวข้อเขียนรำลึกถึง ‘ม.ร.ว.สายสวัสดี สวัสดิวัตน’ โดย ‘กษิดิศ อนันทนาธร’ ผู้สนใจประวัติศาสตร์การเมืองและสังคมไทย ซึ่งได้รู้จักและมีความคุ้นเคยกับสตรีผู้นี้มากว่า 12 ปี
16
มิถุนายน
2566
15 มิถุนายน 2566 (วานนี้) ณ ห้องสุทัศน์ ชั้น 2 ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร สถาบันปรีดี พนมยงค์ และ กรุงเทพมหานคร ร่วมประชุมหารือการจัดกิจกรรมในวาระ “78 ปี วันสันติภาพไทย ประจำปี 2566” เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในหน้าประวัติศาสตร์และคุณูปการของวีรชนขบวนการเสรีไทยซึ่งจะจัดขึ้นในวันพุธที่ 16 สิงหาคม 2566 
บทบาท-ผลงาน
14
พฤษภาคม
2566
ประมวลฐานความคิดของนายปรีดี พนมยงค์ ที่มีต่อการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร นับตั้งแต่วัยเยาว์ ไปจนถึงการอภิวัฒน์สยาม 2475 ก่อร่างสร้างประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อีกทั้งรัฐธรรมนูญฉบับ 2489 ซึ่งกำหนดหลักการผู้เกี่ยวข้องทางการเมืองไว้อย่างเป็นธรรม รวมไปถึงวิธีส่งเสริมให้ราษฎรสนใจประชาธิปไตย ซึ่งปรากฏในจดหมายถึง ฯพณฯ สัญญา ธรรมศักดิ์ นายกรัฐมนตรี
12
พฤษภาคม
2566
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม ที่ผ่านมาในวันปรีดี พนมยงค์ ประจำปี พ.ศ. 2566 สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดเสวนา PRIDI Talks #20: “ดุลยภาพแห่งอำนาจ” : เปลี่ยนผ่านสังคมไทยด้วยการเลือกตั้ง ขึ้น ณ ชั้น 9 อาคารอเนกประสงค์ 1 สถาบันไทยคดีศึกษา ห้องประชุมคึกฤทธิ์ ปราโมช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โดยได้รับเกียรติจากนักวิชาการ สื่อมวลชน และองค์กรเคลื่อนไหวภาคประชาชน ได้แก่ รศ.ดร.ไชยันต์ รัชชกูล, รศ.ดร.พวงทอง ภวัครพันธุ์, รศ.ดร.พิภพ อุดร, ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล และ ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ และ ผศ.อัครพงษ์ ค่ำคูณ เป็นผู้ดำเนินรายการ
12
พฤษภาคม
2566
ในวันที่ 11 พฤษภาคม 2566 เป็นวาระ 123 ปี ชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ ในช่วงเช้า สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดพิธีทำบุญอุทิศส่วนกุศล และพิธีวางพานพุ่ม อนุสาวรีย์ปรีดี พนมยงค์ เพื่อรำลึกคุณูปการต่างๆ ของ ‘ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะผู้ริเริ่มวางรากฐานระบอบประชาธิปไตยในสังคมไทย โดยในเวลา 08.00 น. ได้เริ่มพิธีทำบุญแด่นายปรีดี พนมยงค์  
ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
เมษายน
2566
บอกเล่าบรรยากาศและสาระจากงานฉลองครบรอบ 90 ปีที่เวียนมาบรรจบของ 'ส. ศิวรักษ์' ปัญญาชนสยาม อันเป็นชีวิตที่มีโลกทัศน์ดำเนินไปพร้อมกับพลวัตทางสังคม ก่อร่างสร้างตัวตนให้บุรุษผู้นี้มีจุดยืนความคิดเป็นของตนเองมาตลอด 9 ทศวรรษที่ไหลเวียนอยู่ในสายธารของประวัติศาสตร์การเมืองไทย
Subscribe to กษิดิศ อนันทนาธร