ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การวิเทโศบายของไทย

เกร็ดประวัติศาสตร์
21
กรกฎาคม
2568
ลอร์ดหลุยส์ เมานต์แบตตัน ได้สั่งให้พลโท จี. เอเวิ้นส์ เดินทางมากรุงเทพฯ ในวันที่ 3 กันยายน ในฐานะผู้บัญชาการทหารฝ่ายสัมพันธมิตรในประเทศไทย พร้อมด้วยกองพลอินเดียที่ 7 รวมกำลังพล 17,000 คน มีหน้าที่ในการรวบรวมและปลดอาวุธทหารญี่ปุ่นทั่วราชอาณาจักรซึ่งมีประมาณ 120,000 คน
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2568
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488 รัชกาลที่ 8 เสด็จนิวัตพระนครตามที่รัฐบาลภายใต้การนำของ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ได้กราบบังคมทูลอัญเชิญ ท่ามกลางความปรีดาปราโมทย์อย่างสุดซึ้งของพสกนิกรชาวไทย ซึ่งใฝ่ฝันเฝ้ารอรุ่งอรุณแห่งวันใหม่ด้วยจิตใจอันแจ่มใสเบิกบาน
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
กรกฎาคม
2568
ศาสตราจารย์ ดร.กนต์ธีร์ ศุภมงคล ได้ติดตาม ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช กลับถึงกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2488 และเสนีย์ได้เข้าดํารงตําแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีในรุ่งขึ้นวันที่ 17 กันยายนเป็นต้นไป โดยมีภารกิจแรกคือการแต่งตั้งคณะผู้แทนไทยเพื่อไปเจรจาเลิกสถานะสงครามกับอังกฤษที่แคนดี
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
มิถุนายน
2568
วิเคราะห์ช่วงอวสานของสงครามแปซิฟิก โดยเจาะลึกยุทธศาสตร์ของฝ่ายสัมพันธมิตรและการยอมแพ้ของญี่ปุ่น พร้อมทั้งชี้ให้เห็นบทบาทของไทยในฉากเปลี่ยนผ่านสู่โลกหลังสงครามภายใต้แรงกดดันของอำนาจโลก
แนวคิด-ปรัชญา
4
มิถุนายน
2568
บทความนี้กล่าวถึงความพยายามของไทยภายใต้การนำของปรีดี พนมยงค์ในการติดต่อกับอังกฤษผ่านคณะผู้แทนต่าง ๆ เช่น คณะของถวิล อุดล และดิเรก ชัยนาม เพื่อแสดงเจตนารมณ์ต่อต้านญี่ปุ่น แม้อังกฤษยังคงถือไทยเป็นศัตรู แต่การเจรจาเหล่านี้เป็นหมุดหมายสำคัญ
แนวคิด-ปรัชญา
2
มิถุนายน
2568
ปรีดี พนมยงค์มีบทบาทสำคัญในการผลักดันการเปลี่ยนผ่านอำนาจทางการเมืองหลังจอมพล ป. พิบูลสงครามลาออก และสนับสนุนการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ภายใต้ระบอบรัฐธรรมนูญ และยังเป็นแกนนำหลักในการประสานงานขบวนการต่อต้านญี่ปุ่น
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
พฤษภาคม
2568
เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2484 กองทัพญี่ปุ่นได้เข้ารุกรานประเทศไทยทำให้รัฐบาลภายใต้การนำของจอมพลป.พิบูลสงครามตัดสินใจ เข้าเป็นส่วนหนึ่งของฝ่ายอักษะ แต่การกระทำของรัฐบาลได้นำมาสู่การรวมตัวกันของกลุ่มบุคคลที่รักชาติเพื่อหาวิธีการติดต่อฝ่ายสัมพันธมิตร และการจัดตั้งขบวนการต่อต้านกองทัพญี่ปุ่น
แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤษภาคม
2568
ภายหลังการเข้ามาของกองทัพญี่ปุ่นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ประเทศไทยต้องเข้าเป็นสัมพันธมิตรและเข้าเป็นพันธมิตรทางการทูต
แนวคิด-ปรัชญา
16
พฤษภาคม
2568
บทบาทของคณะทูตไทยประจำญี่ปุ่นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งมีเป้าหมายซ่อนเร้นในการติดต่อฝ่ายสัมพันธมิตร ขณะเดียวกันต้องรักษาความสัมพันธ์กับญี่ปุ่นในฐานะพันธมิตรทางการทูต
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
พฤษภาคม
2568
จากการที่ประเทศไทยให้ความร่วมมือกับญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงเกิดความแตกแยกภายในของกลุ่มชาวไทยในต่างประเทศ อันได้แก่ กลุ่มในสหรัฐฯ จีน และอินเดีย และการเสียเปรียบจำยอมทางเศรษฐกิจต่อญี่ปุ่น นำมาซึ่งการขบวนต่อต้านของเสรีไทยในเวลาต่อมา
Subscribe to การวิเทโศบายของไทย