ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง

เกร็ดประวัติศาสตร์
19
เมษายน
2567
นวนิยายเรื่อง "มาลัยสามชาย" ใช้ตัวละครผู้หญิงเป็นเครื่องมือเพื่อสะท้อนมิติทางการเมืองที่ซ่อนอยู่ในความเป็นไทย โดยตัวละครผู้หญิงเอง ก็ถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองในการกำหนดตัวตนความเป็นไทยในช่วงเปลี่ยนผ่าน นวนิยายเรื่องนี้จึงไม่เพียงกล่าวถึงความรัก แต่ยังสะท้อนมิติทางการเมืองอย่างแยบยลผ่านตัวตนของตัวละครผู้หญิง
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
เมษายน
2567
"หมุดคณะราษฎร" เป็นสัญลักษณ์การอภิวัฒน์ 2475 ที่รัฐพยายามควบคุม แต่กลับทำให้เกิดกระแสรื้อฟื้นความทรงจำนี้ในสังคม สะท้อนการต่อสู้ระหว่างรัฐและประชาชนในการกำหนดประวัติศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มีนาคม
2567
การก่อตั้งคณะราษฎรที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองในปีพ.ศ. 2475 เริ่มต้นจากการรวมตัวของเหล่านักเรียนนอกที่มีแนวคิดที่ต้องการพัฒนาประเทศให้นำไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
18
มีนาคม
2567
หลังจากที่มีการจัดตั้งราชบัณฑิตยสถาน (ราชบัณฑิตยสภา ในปัจจุบัน) และเปลี่ยนจากปทานุกรมเป็นพจนานุกรม จึงได้มีการนิยามคำว่า “ปฏิวัติ“ ซึ่งมีความหมายว่า การหมุนกลับ การผันแปรตามหลักมูล
แนวคิด-ปรัชญา
22
กรกฎาคม
2565
มูลเหตุที่เลือกเรียนกฎหมาย คุณแร่มได้เล่าให้ฟังว่า เดิมทีมิได้คิดจะเรียนกฎหมาย ตั้งใจจะเรียนแพทย์ เมื่อจบประโยคมัธยมบริบูรณ์ได้ไปสมัครสอบเข้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไว้แล้วด้วย แต่เผอิญรอฟังผลการสมัครสอบเข้าอยู่นาน เนื่องจากมิได้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนรัฐบาล (ขณะนั้นผู้ที่สำเร็จมัธยมศึกษาจากโรงเรียนรัฐบาลสามารถเข้าศึกษาต่อในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้โดยไม่ต้องสอบเข้า) และเกรงว่าจะเข้าไม่ได้ด้วย จึงได้ไปสมัครเข้าโรงเรียนกฎหมายของกระทรวงยุติธรรม โดยได้รับการสนับสนุนจากบิดาเป็นผู้พาไปสมัครต่อเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมในขณะนั้น คือเจ้าพระยาพิชัยญาติ ซึ่งหลังจากถูกซักถามและอบรมอยู่วันหนึ่งเต็
แนวคิด-ปรัชญา
12
กรกฎาคม
2565
การศึกษาประวัติศาสตร์คณะราษฎรในมุมมองใหม่เริ่มต้นราวปลายทศวรรษ 2520 ทั้งมีงานเชิงวิชาการที่เสนอการตีความเหตุการณ์ 24 มิถุนายน 2475 จากฝ่ายที่เห็นด้วยและเห็นต่างไว้ 4 รูปแบบ
บทบาท-ผลงาน
23
มีนาคม
2565
'ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์' เล่าถึงความเป็นมาระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ กับ “โรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” หรือ ต.ม.ธ.ก. โดยความมุ่งหวังของท่านผู้ประศาสน์การเพื่อจะปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาทุกระดับเพื่อให้สอดคล้องกับระบอบรัฐธรรมนูญ
บทบาท-ผลงาน
1
สิงหาคม
2564
เหตุแห่งการทำ “สนธิสัญญาเบาว์ริง” นั้นเป็นจุดเปลี่ยนของสยามในหลายลักษณะ ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และระบบราชการของประเทศ โดยหนึ่งในเรื่องที่มีความสำคัญเรื่องหนึ่งก็คือ “การเสียเอกราชทางการศาล”
บทสัมภาษณ์
1
พฤษภาคม
2564
PRIDI Interview Ep.2 ศิริกัญญา ตันสกุล รองหัวหน้าพรรคก้าวไกล ดำเนินงานทางด้านนโยบาย ผู้หญิงยุคใหม่ที่มีแนวคิดก้าวหน้า กับการชวนคุยในเรื่อง "รัฐสวัสดิการ" และ “ความสำคัญถึงความจำเป็นที่ประเทศไทยจะต้องเป็นรัฐสวัสดิการ”
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
มกราคม
2564
เหตุใด ปรีดี พนมยงค์ จึงประกาศอย่างชัดเจนว่า นักวิชาการไม่ควรสอนต่อ ๆ กันเช่นนี้ หาคำตอบได้จากบทความชิ้นนี้
Subscribe to การเปลี่ยนแปลงการปกครอง