ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ขบวนการประชาธิปไตย

เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2566
อ่านบันทึกประวัติศาสตร์ของขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ ผ่านผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งแสดงให้เห็นลำดับเหตุการณ์ก่อน-หลัง เหตุแห่งการเกิด และหลักฐานเชิงประจักษ์ อันนำไปสู่การตอบโต้รัฐประหาร 2490 และทวงคืนระบอบประชาธิปไตยสมบูรณ์ให้แก่สังคมไทย
แนวคิด-ปรัชญา
14
ตุลาคม
2564
ความทรงจำดังกล่าวเป็นผลมาจากการจำกัดการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในระบอบเผด็จการทหารซึ่งผูกขาดช่องทางการสื่อสารและปกครองประเทศด้วยการปิดกั้นเสรีภาพมาอย่างยาวนาน
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
ตุลาคม
2564
“...หลังจากชัยชนะของขบวนการประเทศลาว ในลาวแล้ว เฉพาะปืน M16 อันเป็นอาวุธเบา ได้ทะลักมาอยู่ชายแดนไทยประมาณ 709,000 กระบอกปืน 709,000 กระบอกนี่แหละค่ะ ที่เขาลักลอบขนเข้ามาดำเนินการร้ายในประเทศไทย คือ สาเหตุที่เกลียด นปข. นัก (หมายถึง หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง) เพราะเขาจะขนอาวุธเหล่านี้เข้ามา อาวุธเหล่านี้ ในเวลานี้ได้สะสมไว้ที่เวียงป่าเป้าในเชียงใหม่ อีกส่วนหนึ่งนั้นได้สะสมไว้ที่สุราษฎร์ธานี
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
สิงหาคม
2564
ภายหลังเหตุการณ์ “ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492” สิ้นสุดลง ปฏิบัติการกวาดล้างและจับกุมผู้เห็นต่างทางการเมืองได้เริ่มต้นขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
สิงหาคม
2564
ความตายของ ‘สี่อดีตรัฐมนตรี’ คือ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายจำลอง ดาวเรือง นายถวิล อุดล และ ดร.ทองเปลว ชลภูมิ เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2492 บริเวณกิโลเมตรที่ 14-15 ถนนพหลโยธิน
บทบาท-ผลงาน
19
พฤษภาคม
2564
บุคคลสำคัญหนึ่งๆ มักถูกอ้างอิงในที่สาธารณะอยู่เสมอ ความหมายต่อบุคคลก็เช่นเดียวกัน สิ่งที่มากกว่านั้นคือการให้ความหมายก็ย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ไม่ยกเว้นแม้กระทั่ง ‘ปรีดี พนมยงค์’ ผู้อภิวัฒน์การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ซึ่งได้รับการยอมรับ และเชิดชูอย่างสูง ในหมู่นักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคการเมืองไทยร่วมสมัย
ชีวิต-ครอบครัว
13
กุมภาพันธ์
2564
แม้เวลาผ่านไปเนิ่นนาน แต่ดูเหมือนว่าความทรงจำของท่านผู้หญิงยังคงชัดเจน โดยเฉพาะเมื่อรำลึกถึงสิ่งต่าง ๆ ที่นายปรีดีทำเพื่อแผ่นดิน และ มวลราษฎรไทย และตัวท่านผู้หญิงก็ได้ต่อสู้เคียงข้างนายปรีดีมาโดยตลอดจากการถูกใส่ร้ายต่างๆ นานา ต่อสู้แม้ว่านายปรีดีจะล่วงลับไปแล้ว จนกระทั่งคิดว่ามีผู้เข้าใจนายปรีดีมากขึ้นจึงได้ยุติ
ชีวิต-ครอบครัว
2
มกราคม
2564
ครั้งหนึ่งมีคนถามท่านผู้หญิงพูนศุขในรายการโทรทัศน์ว่า ความภาคภูมิใจที่สุดในชีวิตของเธอคืออะไร เธอตอบทันทีว่า “คือความภาคภูมิใจที่ได้อยู่ใกล้คนที่ซื่อสัตย์สุจริต มีความรู้วิชาที่จะรับใช้บ้านเมือง … ไม่ได้ผิดหวังในชีวิตส่วนตัว”
Subscribe to ขบวนการประชาธิปไตย