ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คณะราษฎร

บทบาท-ผลงาน
3
มีนาคม
2566
เรื่องราวการลบล้างมลทินที่มัวหมองให้แก่ "พี่ๆ" คณะ ร.ศ. 130 โดย "คณะราษฎร" ภายหลังสยามก้าวเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยได้สำเร็จ ดังปรากฏในหลักฐานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 45 (สมัยสามัญ) ซึ่งนำไปสู่การประกาศ พรบ.ล้างมลทินผู้กระทำความผิดทางการเมือง ร.ศ. 130 เพื่อคืนความบริสุทธิ์และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ให้แก่คณะ ร.ศ. 130 ในเวลาต่อมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
มีนาคม
2566
วิบากกรรมทางการเมืองของ "คณะ ร.ศ. 130" เมื่อครั้งถูกล่ามโซ่ตีตรวนเสรีภาพในฐานะนักโทษทางความคิด พวกเขาต้องเผชิญการถูกกระทำในหลายรูปแบบ อาทิ การใช้แรงงานอย่างหนัก การถูกจองจำในห้องขังมืด ฯลฯ ตลอดระยะเวลาที่ต้องโทษทนทุกข์ทรมานล่วงเลยกว่า 12 ปี 6 เดือน กับอีก 6 วัน ในเรือนจำ ยังคงเป็นห้วงยามที่ลุกโชนไปด้วยความหวังดังเช่นเมื่อวัยหนุ่ม
แนวคิด-ปรัชญา
28
กุมภาพันธ์
2566
ภีรดา เขียนถึง การสร้างระบอบประชาธิปไตยให้ลงหลักปักฐานอย่างตั้งมั่น ผ่านแนวคิดสิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญอันเป็นหลักการคุณค่าสูงสุดของระบอบประชาธิปไตยบนหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย ท่ามกลางอุปสรรคการในการปกป้องระบอบประชาธิปไตยที่ต้องเผชิญกับการรัฐประหารด้วยอำนาจนอกระบบจากกลุ่มศักดินา
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ บอกเล่าเรื่องภายหลังจาก "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" ต้องประสบกับความล้มเหลว รวมไปถึงท่าทีของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งได้แสดงทรรศนะต่อนายปรีดี พนมยงค์ และสถานการณ์ทางการเมืองในขณะนั้น
บทบาท-ผลงาน
16
กุมภาพันธ์
2566
แนวคิดการขุด "คอคอดกระ" หรือที่ประชาชนชาวไทยในปัจจุบันรู้จักในนาม "คลองไทย" ของ 'นายปรีดี พนมยงค์' เมื่อครั้งรั้งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา เมื่อปี พ.ศ. 2478 โดยผู้เขียนยังได้ยกเอาข้อเขียนของนายปรีดีซึ่งแสดงทัศนะต่อการขุดคลองคอคอดกระไว้ในต้นทศวรรษ 2500
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศัพท์เกิดใหม่อย่าง "กรุงเทพอภิวัฒน์" โดยวิเคราะห์ผ่านความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างภาษาและการเมือง พร้อมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของคำว่า "อภิวัฒน์" ซึ่งถูกนิยามและเชื่อมร้อยเข้ากับบริบททางการเมืองไทยเมื่อราวต้นทศวรรษ 2500 โดย นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในสมาชิกคนสำคัญของคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
24
มกราคม
2566
ภีรดา ชวนพิจารณาถึงฐานะทางประวัติศาสตร์ของการเลือกตั้งไทยในช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมือง โดยวิพากษ์และเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเมืองในช่วงเวลาที่ไล่เลี่ยกันต่อพื้นที่อื่นๆ ในฟากฝั่งตะวันตก ซึ่งเป็นการท้าทายต่อองค์ความรู้เดิมของพัฒนาการสิทธิสตรีต่อการเลือกตั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
14
มกราคม
2566
ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล กล่าวถึงหนทางสู่ความเท่าเทียมทางเพศ ผ่านข้อเสนอเพื่อนำไปสู่จุดหมายและทลายปัญหาทางเพศที่เกิดขึ้นในสังคมไทย
แนวคิด-ปรัชญา
12
มกราคม
2566
ชานันท์ ยอดหงษ์ กล่าวถึงบทบาทของรัฐในการรับรองสิทธิของกลุ่มคนผู้มีความหลากหลายทางเพศซึ่งยังปรากฏมุมมองความเหลื่อมล้ำทางเพศและการเลือกปฏิบัติ ตลอดจนบทบาทในฐานะผู้ผลักดันและมีส่วนร่วมของการทำงานด้านการเมืองเชิงอัตลักษณ์ให้แก่พรรคการเมือง รวมไปถึงบอกเล่าความเหลื่อนไหวของสตรีผ่านแง่มุมประวัติศาสตร์ในช่วงเวลาการอภิวัฒน์ 2475
แนวคิด-ปรัชญา
4
มกราคม
2566
โครงสร้างของระบอบชายเป็นใหญ่ (Patriarchy) ซึ่งเป็นฐานคิดหนึ่งที่ถูกปะทะจากการเข้าสู่ระบอบใหม่ จนเกิดบรรทัดฐานใหม่ทางเพศในสังคมและการเคลื่อนไหวของสตรีภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ตลอดจนนำไปสู่การรื้อสร้างและต่อสู้ทางวัฒนธรรมที่ยังคงดำเนินต่อไป
Subscribe to คณะราษฎร