ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คณะราษฎร

แนวคิด-ปรัชญา
3
มกราคม
2566
เสียงสะท้อนหนึ่งจากการเคลื่อนไหวทางสังคมในโมงยามปัจจุบัน คือการขับเคลื่อนต่อประเด็นสิทธิมนุษยชนและความเสมอภาคทางเพศแก่ประชาชน เพื่อรองรับแก่คนทุกผู้ทุกนามผ่านรัฐธรรมนูญ ไม่ว่าเขาเหล่านั้นจะอยู่ในเพศวิถีหรือเพศสภาพใดก็ตาม
แนวคิด-ปรัชญา
30
ธันวาคม
2565
คำอธิบายโดยทั่วไปถึงความแตกต่างของรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ ระหว่างฉบับที่หนึ่ง (24 มิถุนายน 2475) หรือพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม (ชั่วคราว) พ.ศ. 2475 และฉบับที่สอง (10 ธันวาคม 2475) หรือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 มักจะชี้ให้เห็นถึงการประนีประนอมระหว่างฝ่ายคณะราษฎรและฝ่ายตัวแทนของระบอบเก่า จนกระทั่งได้ข้อสรุปในเรื่องสำคัญคือ การยอมรับอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย แต่กำหนดให้พระมหากษัตริย์เป็นประมุขของรัฐ และทรงใช้อำนาจอธิปไตยนั้นผ่านฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ
แนวคิด-ปรัชญา
26
ธันวาคม
2565
ความเสมอภาคของปวงชนชาวไทยที่ได้ถูกบัญญัติขึ้นครั้งแรกใน "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475" ถือเป็นหมุดหมายสำคัญในการรับรองสิทธิและเสรีภาพให้แก่ประชาชนผ่านการเลือกตั้ง และเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเมืองระหว่างไทยและต่างประเทศ โดยสะท้อนถึงบริบทและเงื่อนไขที่แตกต่างกันไปในแต่ละพลวัตทางสังคม อันนำไปสู่ความเสมอภาคของประชาชน
ศิลปะ-วัฒนธรรม
24
ธันวาคม
2565
ย้อนกลับไปยัง "งานฉลองรัฐธรรมนูญ" ในปี พ.ศ. 2483 อันปรากฏร่องรอยประวัติศาสตร์และการมีส่วนร่วมของ "ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์" ซึ่งเป็นการดำเนินงานร่วมกับกองศิลปากรในการประกวดเคหสถาน กิจกรรมในคราวนั้นก็เพื่อเป็นเครื่องแสดงถึงวัฒนธรรมความเจริญของชาติในระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2565
จากหัวข้อการเสวนา PRIDI Talks #18 × SDID : “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” นำไปสู่การร่วมหาคำตอบผ่านทัศนะของผู้ร่วมเสวนาทุกท่าน
แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2565
การนำเสนอรายงานการวิจัย เรื่อง ความคิดทางรัฐธรรมนูญและความมุ่งหมายทางการเมืองในการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ : ศึกษาผู้ร่วมออกแบบร่างรัฐธรรมนูญ ปี 2540, 2550, 2558 และ 2560 โดย ดร.ชาย ไชยชิต และ ดร.เอกลักษณ์ ไชยภูมี นักวิจัยประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แนวคิด-ปรัชญา
22
ธันวาคม
2565
ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ กล่าวถึงเส้นทางการเคลื่อนไหวในการร่างรัฐธรรมนูญอันเกิดจากการผลักดันของภาคประชาชนและพรรคการเมืองต่างๆ ซึ่งได้เริ่มต้นนับตั้งแต่ปี 2563 จนถึงกระทั่งปัจจุบัน โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญคือการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 นอกจากนี้ ยังได้ชี้ให้เห็นถึงจุดขวางกั้นที่ทำให้ทั้งพรรคการเมืองและภาคประชาชนต้องพบกับอุปสรรคใหญ่ในหนทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญ อันเกิดจากเงื่อนไขบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 ที่กำหนดไว้
แนวคิด-ปรัชญา
19
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.วรรณภา ติระสังขะ กล่าวถึงกล่าวถึงความสำคัญและกลไกของรัฐธรรมนูญในฐานะเครื่องมือสำคัญเพื่อรับใช้ประชาชน พร้อมทั้งชี้ถึงความจำเป็นของการเปิด "พื้นที่สาธารณะ" เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางความคิดของคนในสังคม ทั้งนี้ยังได้เสนอหนทางที่นำไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนในอนาคต
แนวคิด-ปรัชญา
18
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน กล่าวถึงความไม่เป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ ซึ่งเกิดขึ้นนับตั้งแต่จุดเริ่มต้นของกระบวนการยุติธรรมไทยในอดีต เปรียบเสมือนติดกระดุมผิดเม็ด จนกรุยทางไปสู่ความป่วยไข้ของรัฐธรรมนูญที่ส่งผลต่อทัศนคติในหมู่นักกฎหมายและประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2565
ความสำคัญของรัฐธรรมนูญโดยเชื่อมโยงกับสังคมไทยและการต่อสู้ทางการเมืองในโมงยามปัจจุบัน พร้อมทั้งวิพากษ์คำว่า "Constitution" "Constitutional" และ "Constitutionalism" ผ่านแว่นตาของรัฐศาสตร์ คำดังกล่าวต่างเต็มไปด้วยนัยทางการเมืองที่แตกต่างกันและส่งผลต่อฐานคิดว่าด้วย "รัฐธรรมนูญ"
Subscribe to คณะราษฎร