ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คณะราษฎร

25
มิถุนายน
2564
สรุปประเด็นสำคัญจาก PRIDI Talks #11 “89 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยาม: สวัสดิการและบทบาทของรัฐในการสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจแก่ประชาชน”
24
มิถุนายน
2564
วันที่ 24 มิถุนายน 2564 ทายาทคณะราษฎรร่วมทำบุญให้แก่บรรพบุรุษ ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพมหานคร เนื่องในวันครบรอบ 89 ปี ของการอภิวัฒน์สยาม หรือ เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เนื่องจากการอุบัติของไวรัสโควิด19 ทำให้การจัดงานประจำปีนี้เป็นงานภายใน นำโดยนางสาวสุดา พนมยงค์ และนางดุษฎี พนมยงค์ บุญทัศนกุล ทายาทของนายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าคณะราษฎรสายพลเรือน ร่วมวางดอกไม้และทำบุญอุทิศส่วนกุศลอัฐิคณะราษฎร และถวายสังฆทาน
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
มิถุนายน
2564
เวลาย่ำรุ่งของวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 “คณะราษฎร” ได้ร่วมกันทำการยึดอำนาจการปกครองประเทศ เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยโดยมีรัฐธรรมนูญใช้เป็นหลักในการปกครองประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
มิถุนายน
2564
น้อยคนนักจะทราบเรื่องที่นายปรีดี พนมยงค์เองก็เป็นอีกบุคคลหนึ่งผู้วางแผนสำรองไว้ด้วยเช่นกัน นั่นคือ “แผนตลิ่งชัน”
แนวคิด-ปรัชญา
17
มิถุนายน
2564
เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปแล้วว่า วันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นวันที่คณะราษฎรได้ทำการอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครอง จากระบอบที่กษัตริย์อยู่เหนือกฎหมาย มาเป็นระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มิถุนายน
2564
แม้รัชกาลที่ 7 จะมีการรับสั่งให้ร่างรัฐธรรมนูญ ที่ยังคงมีเนื้อหาที่มุ่งไปสู่การเอื้ออำนวยให้เกิดความชอบธรรมแก่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่แก้ไขใหม่เท่านั้น ในแง่นี้การมีรัฐธรรมนูญจึงไม่เท่ากับการมีประชาธิปไตยด้วย นี่จึงเป็นหนึ่งในบรรดาเหตุผลที่คณะราษฎรเลือกที่จะทำการอภิวัฒน์เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน 2475
แนวคิด-ปรัชญา
12
มิถุนายน
2564
‘นายถวัติ ฤทธิเดช’ กับ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ คือบุคคลร่วมสมัยกัน และคนหนุ่มทั้งสองเพียรพยายามในการเผยแพร่แนวคิดประชาธิปไตยเฉกเช่นเดียวกัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มิถุนายน
2564
แทบไม่น่าเชื่อ เพียงราว 2 ปี ภายหลังรัชกาลของพระผู้ทรงสถาปนาระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และพระผู้ทรงเป็นทุกสิ่งทุกอย่างของสยามได้สิ้นสุดลง
แนวคิด-ปรัชญา
7
มิถุนายน
2564
การสิ้นสุดลงของ “ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์” ในสยามจึงเป็นไปเพื่อการก่อเกิดใหม่ของ “ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” หรือ “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข”
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มิถุนายน
2564
บทความนี้ 'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' จะพาท่านผู้อ่านไปทำความรู้จัก 2 พ่อลูกนักคิดหัวก้าวหน้าในยุคเปลี่ยนผ่านของหน้าประวัติศาสตร์ไทยอย่าง ก.ศ.ร.กุหลาบ และบุตรชายของเขา "นายชาย ตฤษณานนท์" (ก.ห. ชาย)
Subscribe to คณะราษฎร