ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คณะราษฎร

แนวคิด-ปรัชญา
9
เมษายน
2564
เมื่ออ่านเค้าโครงการเศรษฐกิจครั้งแรก มีความรู้สึกเหมือนกับว่าท่านอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ให้ความสำคัญกับการวางแผนเศรษฐกิจจากส่วนกลาง เมื่ออ่านครั้งต่อๆไปก็เริ่มเห็นความสำคัญของส่วนของชาวบ้าน ส่วนของท้องถิ่น ในเค้าโครงการฯ คือในตอนที่ว่าด้วยสหกรณ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2564
1 เมษายน 2476 เป็นวันขึ้นปีใหม่ไทยในยุคสมัยนั้น แต่ ณ ห้วงเวลานั้น ได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกในภายใต้ระบอบใหม่ นำโดยนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย คือ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ซึ่งเป็นการรัฐประหารรัฐบาลตัวเอง ที่เรียกกันว่า "รัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกา"
บทสัมภาษณ์
29
มีนาคม
2564
เย็นวันนี้ ทีมบรรณาธิการของเรามีนัดสัมภาษณ์กับ ลุงแมว พันตรี พุทธินาถ พหลพลพยุหเสนาบุตรคนที่ 4 ของพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย ผู้ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ของประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นหัวหน้าคณะราษฎร หนึ่งในสี่ทหารเสือผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475  เมื่อถึงเวลานัดหมาย เราพร้อมกันที่บ้านทาวน์เฮ้าส์ หลังหนึ่งซึ่งอยู่ห่างออกจากชานเมืองไปไม่ไกลนัก เจ้าของบ้านดวงหน้ายิ้มแย้มสดใสยืนรอต้อนรับพวกเราอยู่ที่หน้าประตูบ้านด้วยความเป็นกันเอง ก่อนเชื้อเชิญกันเข้ามานั่งที่โต๊ะรับรองภายในบ้าน ลุงแมวตระเตรียมทั้งขนมและน้ำให้พวกเราอย่างเต็มที่
บทบาท-ผลงาน
16
กุมภาพันธ์
2564
นายปรีดี พนมยงค์ ได้กล่าวสุนทรพจน์ในงาน 'กึ่งศตวรรษประชาธิปไตย' เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2525 มีใจความถึงเหตุแห่งความผิดพลาดของการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย 24 มิถุนายน
แนวคิด-ปรัชญา
11
กุมภาพันธ์
2564
ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล ได้ให้ข้อเสนอในเรื่องการลบล้างผลพวงของการรัฐประหาร โดยให้มีการจัดทำ "คำประกาศว่าด้วยคุณค่าอันเป็นรากฐานของระบอบเสรีประชาธิปไตย" และ คาดหวังว่าจะเป็นการวางรากฐานที่สำคัญสำหรับอนาคตที่จะยับยั้งมิให้เกิดการรัฐประหารขึ้นได้อีกต่อไป
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
กุมภาพันธ์
2564
รัฐประหาร 2490 เป็นเครื่องเตือนให้รู้ว่า ตราบใดที่การแข่งขันทางการเมืองยังมิได้ขยายฐานแห่งอำนาจไปสู่ประชาชน การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองโดยการใช้กำลังย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ
บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2564
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ได้บอกกับเราว่า "เพราะเหตุใดการขึ้นสู่อำนาจของคณะรัฐประหาร จึงก่อให้เกิดผลในการทำลายประชาธิปไตย และล้มล้างลัทธิธรรมนูญได้ถึงเพียงนี้"
แนวคิด-ปรัชญา
4
กุมภาพันธ์
2564
รุ่งขึ้นของเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 4 ของประเทศไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2564
ผู้ก่อการรัฐประหารส่วนใหญ่เป็นนายทหารนอกประจำการ เริ่มแรกบรรดาผู้ก่อการต่างคนต่างคิดมีทั้งหมด 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีพวกพ้องของตนโดยเฉพาะที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งทั้ง หมดได้มาพบปะและรู้ความประสงค์ซึ่งกันและกัน โดยใช้วัตถุประสงค์ที่ร่วมกันร่างเป็น "ข้ออ้าง" ในการกระทำรัฐประหารในครานั้น
บทสัมภาษณ์
14
มกราคม
2564
บันทึกความทรงจำของ ม.ร.ว.สายสวัสดี ธิดา ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน ที่มีต่อท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
Subscribe to คณะราษฎร