คณะราษฎร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
26
พฤษภาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิพากษ์วิจารณ์เรื่องการฟื้นฟูระบบบรรดาศักดิ์โดยระบุว่าขัดแย้งกับหลักเสรีภาพและภราดรภาพที่คณะราษฎรเคยให้สัญญาไว้ และเป็นการย้อนกลับความคิดของตนเองเมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2567
แนวคิดราษฎรของปรีดี พนมยงค์ โดยได้เปรียบเทียบกับแนวคิดราษฎรก่อนและหลังการอภิวัฒน์สยาม และแสดงให้เห็นว่าราษฎรของปรีดีมีความเชื่อมโยงกับการที่ราษฎรมีสิทธิ เสรีภาพ เสมอภาค และภราดรภาพซึ่งแตกต่างจากแนวคิดราษฎรก่อนการอภิวัฒน์
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
7
พฤษภาคม
2567
การเชิญอัฐิธาตุของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ระหว่างวันที่ 7-11 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 และปฏิกิริยาทางสังคมจากปารีสและไทยทั้งจากครอบครัว ลูกศิษย์ และนิสิตนักศึกษา รวมทั้งสื่อมวลชนที่ให้ความสนใจต่องานเชิญอัฐิธาตุในครั้งนี้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
3
พฤษภาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เป็นนักกฎหมายและนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ศึกษาที่ฝรั่งเศสและริเริ่ม “สามัคยานุเคราะห์สมาคม” ก่อนจะเป็นผู้นำคนสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศไทยสู่ระบอบประชาธิปไตย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2567
นโยบายแรงงานคณะราษฎรให้ความสำคัญกับสวัสดิการแรงงาน โดยปรีดี พนมยงค์ริเริ่มพระราชบัญญัติจัดตั้งสำนักงานจัดหางาน พ.ศ. 2475 เพื่อคุ้มครองแรงงานและนายจ้าง วางรากฐานกฎหมายแรงงานไทย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
26
เมษายน
2567
การฟ้องคดีความเรื่องหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าของนายประยูร ภมรมนตรีต่อกระทรวงศึกษาธิการและห้างหุ้นส่วนจํากัดบรรณกิจเทรดดิ้ง เริ่มฟ้องคดีฯ ในปี 2522 และสิ้นสุดลงด้วยการประนีประนอมในปี 2525 การฟ้องร้องคดีฯ เพื่อการปกป้องเกียรติของนายปรีดี พนมยงค์ และยืนยันข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์สมัยคณะราษฎร
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
เมษายน
2567
เนื้อหาช่วงสุดท้ายของบันทึกคำฟ้อง ปรีดี พนมยงค์ โต้แย้งข้อกล่าวหาบางประการของ พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี โดยชี้ให้เห็นข้อขัดแย้งกับหลักฐานและเอกสารประวัติศาสตร์ พร้อมรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลวงเดชสหกรณ์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
24
เมษายน
2567
การวิเคราะห์ของนักศึกษาและคำชี้แจงของท่านปรีดี พนมยงค์ ชี้ให้เห็นว่าข้อเขียนของ พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี ไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ และเป็นการบิดเบือนเพื่อวัตถุประสงค์ของตนเอง มิใช่สัจจะทางสารคดี
บทความ • บทบาท-ผลงาน
23
เมษายน
2567
ข้อกล่าวอ้างของ พล.ท.ประยูรฯ เกี่ยวกับการล้มเลิกเค้าโครงการเศรษฐกิจฯ ขัดแย้งกับหลักฐาน ทำให้เชื่อว่าเป็นเรื่องที่ท่านแต่งขึ้นเอง ในขณะที่ข้อชี้แจงของ ปรีดี พนมยงค์ มีน้ำหนักและสอดคล้องกับหลักฐาน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to คณะราษฎร
19
เมษายน
2567
นวนิยายเรื่อง "มาลัยสามชาย" ใช้ตัวละครผู้หญิงเป็นเครื่องมือเพื่อสะท้อนมิติทางการเมืองที่ซ่อนอยู่ในความเป็นไทย โดยตัวละครผู้หญิงเอง ก็ถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองในการกำหนดตัวตนความเป็นไทยในช่วงเปลี่ยนผ่าน นวนิยายเรื่องนี้จึงไม่เพียงกล่าวถึงความรัก แต่ยังสะท้อนมิติทางการเมืองอย่างแยบยลผ่านตัวตนของตัวละครผู้หญิง