ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ความเหลื่อมล้ำ

แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2566
นำเสนอถึงปัญหาเศรษฐกิจไทยภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 จากบทสัมภาษณ์ศาสตราภิชาน แล ได้กล่าวไว้ 3 เรื่องสำคัญ พร้อมกับผูกประเด็นเหล่านั้นกับแนวคิดและข้อเสนอของ ผศ.ดร. ธร ปิติดล จากงานวิจัยชื่อ “แนวคิดและอุดมการณ์กับพัฒนาการระบบสวัสดิการไทย”
แนวคิด-ปรัชญา
12
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้นำเสนอถึงปัจจัยที่ส่งผลให้คนจนก่ออาชญากรรมและถูกพบเห็นมากกว่าคนรวย ในขณะเดียวกันคนรวยทำอย่างไรจึงก่ออาชญากรรมได้โดยไม่ถูกนับเป็นอาชญากรรม
ศิลปะ-วัฒนธรรม
21
เมษายน
2566
ความแตกต่างระหว่างชนชั้น ระบบเศรษฐกิจที่ยึดโยงต่อการเมือง และโครงสร้างทางสังคม อันนำไปสู่ส่วนต่อขยายช่องว่างของความเหลื่อมล้ำให้ถ่างกว้างมากขึ้น โดยวิเคราะห์ผ่านวรรคทองของภาพยนตร์ที่ว่า “คนรวยไม่ได้กินเพื่ออิ่ม แต่กินเพื่อรักษาสถานะทางชนชั้นของตน” ซึ่งสะท้อนปรากฏการณ์บางอย่างที่เกิดขึ้นสังคมไทย
แนวคิด-ปรัชญา
18
เมษายน
2566
สำรวจฐานคิดอันเป็นต้นกำเนิดของการเกณฑ์ทหาร ซึ่งถือเป็นกิจกรรมพื้นฐานของการสร้างรัฐชาติสมัยใหม่ พร้อมด้วยข้อเสนอถึงความเป็นไปได้ที่ปรับเปลี่ยนไปสู่โมเดลคัดสรรด้วยความสมัครใจ และเงื่อนไขต่อการสร้างระบบอย่างมีประสิทธิภาพที่เหมาะสมต่อโครงสร้างทางเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศ
แนวคิด-ปรัชญา
12
ตุลาคม
2565
เมื่อเข้าสู่ช่วงเดือนตุลาคม เหตุการณ์สำคัญที่จะต้องหยิบมาพูดถึงคือ เหตุการณ์ในวันที่ 14 ตุลาคม และ 6 ตุลาคม ซึ่งเป็นเหตุการณ์สำคัญในหน้าการเมืองไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเลวร้ายที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ทั้งสอง ซึ่งเป็นภาพสะท้อนของการลอยนวลพ้นผิดที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ซึ่งการลอยนวลพ้นผิดนี้สร้างบาดแผลให้กับสังคมไทยในหลายๆ ด้าน ทั้งก่อให้เกิดความรู้สึกไม่เป็นธรรม อีกทั้งยังถ่างช่องว่างของความเหลื่อมล้ำให้กว้างขึ้น  
แนวคิด-ปรัชญา
29
สิงหาคม
2565
“ความเหลื่อมล้ำ” เป็นปัญหาสำคัญและเป็นจุดเริ่มต้นของปัญหาอื่นๆ ในสังคมไทย และหนึ่งในปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทย คือ ปัญหาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา ซึ่งมีความสำคัญในฐานะเครื่องมือในการขยับสถานะทางสังคม
แนวคิด-ปรัชญา
13
มิถุนายน
2565
บนหน้าประวัติศาสตร์ความเหลื่อมล้ำของไทย เลี่ยงไม่ได้ที่ต้องพิจารณาการถือครองที่ดิน เพราะเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ
แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤษภาคม
2565
ช่วงถามตอบท้ายกิจกรรม PRIDI Talks #15: วันปรีดี พนมยงค์ 2565 "มุมมอง SDGs เพื่อการพัฒนาสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์"
แนวคิด-ปรัชญา
23
พฤษภาคม
2565
พริษฐ์ วัชรสินธุ กล่าวถึง แง่มุมของการศึกษาที่มีคุณภาพซึ่งเป็นหนึ่งใน 17 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (เป้าหมายที่ 4) ที่กำหนดไว้โดยองค์การสหประชาชาติ ซึ่งหากย้อนกลับไปพิจารณาความคิดของนายปรีดี พนมยงค์ จะเห็นได้ว่า ความคิดเรื่องการยกระดับการศึกษาให้มีคุณภาพนี้ปรากฏอยู่ตั้งแต่ในหลัก 6 ประการของคณะราษฎร และการก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
บทสัมภาษณ์
30
เมษายน
2565
#PRIDIInterview ขอนำเสนอ ความรู้เรื่องของ “ภาษี” ก่อน และ หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดย 'คุณศิริกัญญา ตันสกุล' รองหัวหน้าพรรคก้าวไกลฝ่ายนโยบาย ที่จะพาคุณไปเรียนรู้และทำความเข้าใจ ตั้งแต่เรื่องของภาษีในแง่ประวัติศาสตร์ว่าด้วยเรื่อง "ประมวลรัษฎากร" ว่าคืออะไร สาเหตุที่ต้องมีการสถาปนาประมวลรัษฎากรขึ้นนั้นด้วยเพราะเหตุใด
Subscribe to ความเหลื่อมล้ำ