ความเหลื่อมล้ำ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤษภาคม
2565
ช่วงถามตอบท้ายกิจกรรม PRIDI Talks #15: วันปรีดี พนมยงค์ 2565 "มุมมอง SDGs เพื่อการพัฒนาสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์"
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
23
พฤษภาคม
2565
พริษฐ์ วัชรสินธุ กล่าวถึง แง่มุมของการศึกษาที่มีคุณภาพซึ่งเป็นหนึ่งใน 17 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (เป้าหมายที่ 4) ที่กำหนดไว้โดยองค์การสหประชาชาติ ซึ่งหากย้อนกลับไปพิจารณาความคิดของนายปรีดี พนมยงค์ จะเห็นได้ว่า ความคิดเรื่องการยกระดับการศึกษาให้มีคุณภาพนี้ปรากฏอยู่ตั้งแต่ในหลัก 6 ประการของคณะราษฎร และการก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
บทความ • บทสัมภาษณ์
30
เมษายน
2565
#PRIDIInterview ขอนำเสนอ ความรู้เรื่องของ “ภาษี” ก่อน และ หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดย 'คุณศิริกัญญา ตันสกุล' รองหัวหน้าพรรคก้าวไกลฝ่ายนโยบาย ที่จะพาคุณไปเรียนรู้และทำความเข้าใจ ตั้งแต่เรื่องของภาษีในแง่ประวัติศาสตร์ว่าด้วยเรื่อง "ประมวลรัษฎากร" ว่าคืออะไร สาเหตุที่ต้องมีการสถาปนาประมวลรัษฎากรขึ้นนั้นด้วยเพราะเหตุใด
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
21
เมษายน
2565
'อิทธิพล โคตะมี' ชวนให้ศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยในช่วงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ถึงสภาวะที่ยากแค้นของราษฎรในแผ่นดินสยาม กับกระบวนการสะสมทุนทางเศรษฐกิจที่เหลื่อมล้ำจนส่งผลโดยตรงต่อความทุกข์ยากของราษฎร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
ตุลาคม
2564
ค่าจ้างขั้นต่ำของประเทศไทยเป็นอย่างไรบ้าง และเหมาะสมกับค่าครองชีพจริงๆ หรือไม่ โดยมาลองสมมติกันว่า ถ้าหากหัวหน้าฮงเกิดเป็นคนไทย เขาจะได้รับค่าจ้างขั้นต่ำอย่างไร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
21
กันยายน
2564
เมื่อคณะราษฎรเข้ามาบริหารประเทศก็ได้กำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจสำคัญตามหลัก 6 ประการ ที่ได้ประกาศไว้ ทำให้เศรษฐกิจเปลี่ยนเป็นอุตสาหกรรมมากขึ้น ก็เกิดชนชั้นกลางในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งในส่วนนี้ก็คือเศรษฐกิจนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
ตุลาคม
2563
ในรัชสมัยของรัชกาลที่ 6 มีการเก็บภาษีชนิดหนึ่งเพื่อใช้เป็นแหล่งรายได้ของรัฐ ซึ่งนับได้ว่ามีความพิเศษแตกต่าง แต่มีภาษีชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า 'เงินรัชชูปการ' มิได้มาจากฐานคิดแบบนั้น จึงทำให้เกิดข้อสงสัยว่า เงินดังกล่าวเก็บโดยอาศัยฐานใดมาคิด
ข่าวสาร
Subscribe to ความเหลื่อมล้ำ
2
กรกฎาคม
2563
เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับคณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ และมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ จัดงาน “88 ปี 2475 ความทรงจำของสามัญชน”
โดย นายอนุสรณ์ ธรรมใจ ประธานกรรมการบริหาร สถาบันปรีดี พนมยงค์ กล่าวเปิดงานเสวนาในหัวข้อ จากราชดำเนินถึง “2475: ความรู้ ความทรงจำและสถานการณ์ปัจจุบัน” ผ่านเพจสถาบันปรีดี พนมยงค์ และ ศูนย์วิจัยดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์