ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ดิเรก ชัยนาม

แนวคิด-ปรัชญา
18
เมษายน
2568
ดิเรก ชัยนาม เขียนถึงรัฐสภาและคณะรัฐมนตรีอังกฤษไว้อย่างละเอียดสะท้อนให้เห็นระบบการเมืองแบบประชาธิปไตยที่มีกษัตริย์ปกครองประเทศ และลักษณะสำคัญ และระบบการเมืองอังกฤษ
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
เมษายน
2568
ศาสตราจารย์ดิเรก ชัยนาม เป็นนักการทูตและนักการเมืองผู้ซื่อตรง เมตตา และเสียสละ ยึดมั่นในคุณธรรมทั้งยามมีและหมดอำนาจ ได้รับการยอมรับทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นแบบอย่างของผู้มีเกียรติยิ่งกว่ายศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
เมษายน
2568
อาจารย์ดิเรก ชัยนาม ผู้เป็นครูและผู้บังคับบัญชา ผู้มีคุณูปการต่อวงการการทูตไทย ทั้งด้านวิชาการและจริยธรรม ที่มุ่งมั่นในการถ่ายทอดวิชาอย่างไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อย ทั้งยังเป็นผู้บุกเบิกการเรียนการสอนระดับปริญญาโทด้านการทูตในประเทศไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
เมษายน
2568
อาจารย์ดิเรก ชัยนาม ตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งทูตหลังรัฐประหารปี 2490 เพราะยึดหลัก "เกียรติ" เหนือผลประโยชน์ส่วนตัว และเลือกความถูกต้องทางจริยธรรม การกระทำนี้สะท้อนความกล้าหาญและคุณธรรมของผู้นำที่แท้จริง
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
เมษายน
2568
ดิเรก ชัยนาม มีทั้งความสุภาพเรียบร้อย ความรู้ความสามารถ และความเสียสละเพื่อชาติ โดยเฉพาะบทบาทในช่วงเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 กับคณะราษฎรและสงครามโลกครั้งที่ 2 กับขบวนการเสรีไทย ที่คุณดิเรกเข้าร่วมอย่างกล้าหาญ เสี่ยงชีวิตเพื่อประเทศชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มีนาคม
2568
บทสุดท้ายของบันทึกและบทขยายความของป๋วย อึ๊งภากรณ์ เกี่ยวกับปฏิบัติการสำคัญในขบวนการเสรีไทย อาทิ เป็นผู้ติดต่อกับขบวนการเสรีไทยในประเทศกับอังกฤษ การทำงานร่วมกับบุคคลสำคัญ และภารกิจทางการเมืองภายหลังสงคราม
บทสัมภาษณ์
15
กุมภาพันธ์
2568
PRIDI Interview ตอน ดิเรก ชัยนาม โดย สุลักษณ์ ศิวรักษ์ หรือ ส. ศิวรักษ์ กล่าวถึงผลงานและชีวประวัติของดิเรก นับตั้งแต่หลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 จนถึงหลังสงครามมหาเอเชียบูรพา
ชีวิต-ครอบครัว
3
มกราคม
2568
รายการชีวิตกับงานสัมภาษณ์ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ เผยแพร่ในวาระการอภิวัฒน์สยามเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2538 โดยสัมภาษณ์ทั้งประวัติชีวิตส่วนตัวของท่านผู้หญิงพูนศุขและส่วนที่เกี่ยวข้องกับนายปรีดี พนมยงค์ และการเมืองไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
ธันวาคม
2567
เรื่องเล่าเกร็ดประวัติศาสตร์ บางส่วนของเหตุการณ์สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ในพื้นที่อำเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี กับเหตุการณ์ปฎิบัติการต่อต้านกองทัพญี่ปุ่นบนขบวนรถไฟสายใต้ที่ใช้บรรทุกหีบธนบัตร
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
ธันวาคม
2567
บันทึกหลักฐานประวัติศาสตร์ช่วงหนึ่งของบทบาทม.จ. ศุภสวัสดิ์วงสนิท สวัสดิวัตน ในฐานะสมาชิกขบวนการเสรีไทย จาก ม.ร.ว. สายสวัสดี สวัสดิวัตน ทอมสัน (Thomson) พระธิดา
Subscribe to ดิเรก ชัยนาม