ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ดุษฎี พนมยงค์

ชีวิต-ครอบครัว
12
มกราคม
2565
คุณแม่...คือตัวอย่างของผู้ให้กำเนิดที่ประเสริฐ คนเราเลือกเกิดไม่ได้ แต่เลือกทางเดินชีวิตของตนเองได้ ลูกๆ ทั้งหกคนโชคดีที่ได้เกิดมาเป็นลูกของปรีดี-พูนศุขที่เป็นบุคคลอันเปี่ยมไปด้วยคุณธรรม เป็นแบบอย่างของการยืนอยู่บนโลกใบนี้อย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรี คุณแม่อุ้มท้องลูกทั้งหกคน อย่างทะนุถนอม และด้วยความยากลำบาก เสี่ยงชีวิต อดทนต่อความเจ็บปวด คลอดเราออกมา และดูแลอภิบาลตั้งแต่แรกเกิดจนเติบโต
ชีวิต-ครอบครัว
11
มกราคม
2565
สิ่งที่เห็นอย่างเด่นชัดในจดหมายทุกฉบับ คือ “ความรักในทัศนะใหม่” โดยการให้เกียรติสตรีอย่างเสมอภาคกับบุรุษของปรีดีต่อพูนศุข
ชีวิต-ครอบครัว
7
มกราคม
2565
"โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนต์" สอนให้ข้าพเจ้าซื่อสัตย์ มีวินัย มีมารยาทในสังคม มีวิชาความรู้ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ และฝรั่งเศส ทำให้ข้าพเจ้าทำหน้าที่ภรรยาของนักการเมืองและแม่ของลูกได้อย่างมีความอดทน เชื่อมั่นและไม่ท้อแท้ แม้บางครั้งครอบครัวข้าพเจ้าจะถูกมรสุมการเมืองโถมกระหน่ำอย่างไร้ความปรานี
ชีวิต-ครอบครัว
7
พฤศจิกายน
2564
บ่ายวันที่ 7 พฤศจิกายน 2490 เป็นฤดูปลายฝนต้นหนาวอากาศกำลังเย็นสบาย ลมอ่อนๆ พัดโชยมาจากแม่น้ำเจ้าพระยาพระอาทิตย์ใกล้จะตกดิน ส่องประกายระยิบระยับบนผิวน้ำ เด็กผู้หญิงเล็กๆ สามสี่คนกำลังวิ่งเล่นที่สนามหญ้าบริเวณบ้าน ทุกอย่างเป็นปกติ บรรยากาศสงบนิ่งสวยงาม        
24
มิถุนายน
2564
วันที่ 24 มิถุนายน 2564 ทายาทคณะราษฎรร่วมทำบุญให้แก่บรรพบุรุษ ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพมหานคร เนื่องในวันครบรอบ 89 ปี ของการอภิวัฒน์สยาม หรือ เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เนื่องจากการอุบัติของไวรัสโควิด19 ทำให้การจัดงานประจำปีนี้เป็นงานภายใน นำโดยนางสาวสุดา พนมยงค์ และนางดุษฎี พนมยงค์ บุญทัศนกุล ทายาทของนายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าคณะราษฎรสายพลเรือน ร่วมวางดอกไม้และทำบุญอุทิศส่วนกุศลอัฐิคณะราษฎร และถวายสังฆทาน
บทบาท-ผลงาน
11
พฤษภาคม
2564
ณ บริเวณฝั่งเหนือของคลองเมืองหลวง ห่างจากมุมกำแพงพระราชวังโบราณ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ด้านตะวันตกประมาณเกือบ 1 กิโลเมตร มีวัดหนึ่งตั้งอยู่ ผู้เฒ่าได้เล่าสืบทอดต่อๆ กันมาว่า
ชีวิต-ครอบครัว
4
พฤษภาคม
2564
เสี้ยววินาทีจากนั้น โทรศัพท์ดังขึ้น เป็นเสียงของน้องวาณี แจ้งข่าวร้ายว่า “คุณพ่อสิ้นใจอย่างสงบที่โต๊ะทำงาน ณ บ้านอองโตนี ประเทศฝรั่งเศส”
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
เมษายน
2564
  บ่ายวันอังคารที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ผมสบโอกาสเข้าร่วมสัมภาษณ์คุณสุดา และคุณดุษฎี พนมยงค์ บุตรีของนายปรีดี และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ พร้อมคุณยงจิตต์ สุนทร-วิจารณ์ หลานชายผู้ใกล้ชิดขณะพำนักอยู่ในฝรั่งเศส ระหว่างสนทนาตอนหนึ่ง คุณยงจิตต์กล่าวถึงการที่เคยขับรถยนต์พานายปรีดีเดินทางไปเยี่ยมหลุมฝังศพอาจารย์ชาวฝรั่งเศส ผู้ซึ่งนายปรีดีเคารพรักและนับถือมากๆ ณ สุสานต่างเมืองช่วงเดือนพฤศจิกายนเป็นประจำทุกๆ ปี  พอเล่าตรงจุดนี้ ผมจึงเอ่ยถามคุณยงจิตต์ว่า  “อาจารย์ชาวฝรั่งเศสคนนั้นคือใคร?”   “ใช่อาจารย์เลเดอแกร์หรือเปล่า?” 
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มกราคม
2564
'ดุษฎี พนมยงค์' ได้ทำการตรวจทานข้อเท็จจริงอีกครั้งจากพยานบุคคลหลายราย จนนำมาสู่ข้อเท็จจริงใหม่ในบทความขนาดสั้นเรื่องนี้
บทสัมภาษณ์
13
มกราคม
2564
อ่านบทสัมภาษณ์ธิดาทั้งสองคนของท่านผู้หญิงพูนศุข ถึงบทบาทสำคัญของมารดาในฐานะผู้อยู่เคียงข้างผู้นำ อย่างนายปรีดี พนมยงค์
Subscribe to ดุษฎี พนมยงค์