ดุษฎี พนมยงค์
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
12
มกราคม
2564
ความทรงจำของครูฉลบชลัยย์ พลางกูร ซึ่งกลายมาเป็นคนใน 'ครอบครัวเดียวกัน' กับท่านผู้หญิงพูนศุข หลังการเสียชีวิตของ 'จำกัด' สามีของเธอในภารกิจเสรีไทย
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
2
มกราคม
2564
ครั้งหนึ่งมีคนถามท่านผู้หญิงพูนศุขในรายการโทรทัศน์ว่า ความภาคภูมิใจที่สุดในชีวิตของเธอคืออะไร เธอตอบทันทีว่า “คือความภาคภูมิใจที่ได้อยู่ใกล้คนที่ซื่อสัตย์สุจริต มีความรู้วิชาที่จะรับใช้บ้านเมือง … ไม่ได้ผิดหวังในชีวิตส่วนตัว”
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
5
ธันวาคม
2563
เธอเน้นหนักในการอบรมข้าพเจ้าและลูก ๆ ให้ยึดหลักสังคมที่เป็นธรรม คือ สังคมที่ปราศจากการเอารัดเอาเปรียบ เบียดเบียนซึ่งกันและกัน และในการศึกษาหาความรู้ทั่วไปต้องทำตนให้ปราศจากอุปาทานและกิเลส จึงจะสามารถรับเอาสิ่งที่เป็นสัจจะตามภาววิสัยและรูปธรรมที่ประจักษ์ได้
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
16
พฤศจิกายน
2563
16 พฤศจิกายน 2471 เป็นวันแต่งงานของท่านผู้หญิงพูนศุขกับนายปรีดี พนมยงค์ หลังความผันผวนทางการเมืองในปี 2490 และ 2492 ทั้งสองคนต้องพลัดพรากจากกัน จนถึงปี 2496 ถึงได้กลับมาพบกันอีกครั้งหนึ่ง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
13
พฤศจิกายน
2563
จุดเริ่มต้นของการก่อสร้างเริ่มตั้งแต่เมื่อใด ที่ดินเดิมเป็นของใคร เรือนไทยสองหลังในอนุสรณ์สถานมาจากไหน ร่วมหาคำตอบได้จากบทความของ 'ดุษฎี พนมยงค์'
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
17
กรกฎาคม
2563
ประวัติ
วาณีเป็นน้องคนสุดท้องของครอบครัว เกิดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2484 ที่บ้านป้อมเพชรนิคม หลังจากเกิดได้ไม่กี่เดือน สงครามโลกครั้งที่ 2 ก็แผ่มาถึงประเทศไทย สภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษาหารือกันแล้วลงมติตั้งคุณพ่อเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ครอบครัวจึงย้ายไปพำนักที่ทำเนียบท่าช้างซึ่งทางราชการจัดให้
ในขั้นต้น วาณีเรียนที่โรงเรียนดรุโณทยานของคุณครูฉลบชลัยย์ พลางกูร และโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนต์
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
30
มิถุนายน
2563
ผมไม่คาดคิดมาก่อนว่าจะได้รู้จักครอบครัวของท่านปรีดี พนมยงค์ เพราะผมไม่มีทางจะเข้าไปเกี่ยวข้องอะไรเลยไม่ว่าจะด้านใด ผมไม่ใช่นักศึกษาธรรมศาสตร์ ไม่ได้เรียนทางกฎหมายหรือการเมืองการปกครอง ไม่มีญาติหรือมีเพื่อนที่มีประวัติหรือลู่ทางที่จะเข้าไปรู้จักครอบครัวของท่านได้เลย
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
30
มิถุนายน
2563
ปรีดีคีตานุสรณ์เป็นผลงานประพันธ์ทางดนตรีของสมเถา สุจริตกุล ประพันธ์ขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ในวาระครบรอบ 100 ปีแห่งชาตกาลของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ซึ่งทางองค์การยูเนสโก สหประชาชาติ ประกาศยกย่องให้เป็นบุคคลสําคัญของโลกในปี ค.ศ. 2000
วงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพฯ ได้นํา “ปรีดีคีตานุสรณ์” ออกแสดงเป็นรอบปฐมทัศน์ที่กรุงเทพฯ ในวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 2000 โดย สมเถา สุจริตกุล ผู้ประพันธ์ได้ทําหน้าที่เป็นผู้อํานวยเพลง ซึ่งได้รับความสําเร็จอย่างงดงาม
ข่าวสาร
Subscribe to ดุษฎี พนมยงค์
25
มิถุนายน
2563
วันที่ 24 มิถุนายน 2563 ทายาทคณะราษฎรร่วมทำบุญให้แก่บรรพบุรุษ ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร เนื่องในวันครบรอบ 88 ปี ของการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นำโดยสุดาและดุษฎี พนมยงค์ ทายาทนายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าคณะราษฎรสายพลเรือน ร่วมวางดอกไม้และทำบุญอุทิศส่วนกุศลอัฐิคณะราษฎร และถวายภัตตาหาร แก่พระสงฆ์จำนวน 24 รูป