ดุษฎี พนมยงค์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
สิงหาคม
2565
ความเป็นมาของสวนเสรีไทยตั้งแต่เริ่มต้นจากการเป็น "บึงตาทอง" โดยผ่านการพัฒนาตามยุคสมัยจนประสบความสำเร็จเป็น "สวนเสรีไทย" ในปัจจุบัน
ข่าวสาร
18
สิงหาคม
2565
วันที่ 16 สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมา ในวาระ 77 ปี วันสันติภาพไทย ในช่วงเช้า สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดพิธีวางช่อดอกไม้บริเวณลานปรีดี พนมยงค์ หน้าตึกโดม เพื่อเป็นรำลึกถึงคุณูปการของผู้เสียสละในขบวนการเสรีไทย ภายใต้การนำของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะของหัวหน้าขบวนการฯ และผู้เสียชีวิตจากสงครามโลกครั้งที่ 2
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2565
'ป๋วย อึ๊งภากรณ์' ผู้ที่ศรัทธาในความยุติธรรม เชื่อมั่นในความเท่าเทียม เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และปรารถนาที่จะเห็นโลกแห่งประชาธิปไตยที่สมบูรณ์พร้อมด้วยสันติประชาธรรม ตลอดจนมรดกทางความคิดที่ป๋วยได้สร้างไว้ขณะมีชีวิต คือ อุดมการณ์ที่ส่งต่อเพื่อจุดประกายให้แก่คนรุ่นหลังตลอดมา
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
20
กรกฎาคม
2565
พี่หน่อยเป็นธิดาของ ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน (ท่านชิ้น) ซึ่งเป็นพระเชษฐาของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
พฤษภาคม
2565
ในวาระ 122 ปีชาตกาลของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ยังคงมีเรื่องราวสืบเนื่องจากคุณูปการให้รำลึกถึงท่าน อาทิเช่น ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ย่านลาดพร้าว และถนนปรีดี พนมยงค์ ย่านสุขุมวิท ที่จะเล่าถึงในบทความชิ้นนี้[1]
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
3
พฤษภาคม
2565
"ขอให้คิดถึงชาติ และราษฎรไทย" ดุษฎีเล่าว่านี่คือสิ่งที่เธอเห็นในผู้เป็นพ่อมาตลอดช่วงชีวิต “ตลอดเวลานึกถึงคนอื่น นึกถึงบ้านเมือง นึกถึงประชาธิปไตย ตลอดเวลาเลย คือไม่ว่าจะสนทนาในครอบครัว หรือสนทนากับลูกศิษย์ที่มาพบ (ที่บ้านในฝรั่งเศส) หรือแขกที่มา จะพูดแต่เรื่องความห่วงใยต่อบ้านเมืองตลอดเวลา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
5
เมษายน
2565
"สถาบันปรีดี พนมยงค์" ที่ครูอุทิศที่ดินให้นั้น ได้ดำเนินกิจกรรมสร้างสรรค์อันเป็นประโยชน์ต่อสังคมและราษฎรไทยเป็นรูปธรรมมาอย่างต่อเนื่อง แม้การเปลี่ยนแปลงใดๆ จะเกิดขึ้นตามความเป็นอนิจจังของสังคมและเหตุปัจจัยต่างๆ แต่สถาบันปรีดี พนมยงค์ ยังคงทำกิจกรรมตามปณิธานของผู้ก่อตั้งอย่างไม่เปลี่ยนแปลงและไม่มีวันสิ้นสุด
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
มีนาคม
2565
คุณูปการสำคัญยิ่งของทรรศนะปรีดี พนมยงค์ เรื่องสงครามและสันติภาพ คือการส่งต่อความรู้สู่คนรุ่นใหม่ให้ฉุกคิดถึงความสำคัญของทุกชีวิตที่ไม่ควรจากไปเพราะสงครามอันเป็นผลประโยชน์ระหว่างประเทศมหาอำนาจ ที่มิใช่เพื่อประโยชน์ของประชาชน
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
18
กุมภาพันธ์
2565
ผมเพิ่งมีโอกาสได้รู้จักกับ คุณดุษฎี พนมยงค์ (ขอเรียกสั้นๆ ว่า “ครูดุษ”) ตัวจริงและเสียงจริงเมื่อราว ๔๐ ปีที่แล้ว ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ คุณดุษไปอยู่ที่นั่นเพื่อศึกษาศิลปะการร้องเพลงเพิ่มเติมต่อจากที่เรียนมาแล้วจากประเทศจีน
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
Subscribe to ดุษฎี พนมยงค์
14
มกราคม
2565
ที่สำคัญ วันนี้เป็นวันของเด็กรุ่นใหม่ ควรเอาใจใส่เรื่องการเมือง สื่อมวลชนควรมีจิตสำนึกทางประวัติศาสตร์ เราต้องอย่าลืมอดีต ไม่มีอดีตจะมีปัจจุบันได้อย่างไร