ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ตั้ว ลพานุกรม

แนวคิด-ปรัชญา
12
พฤศจิกายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เสนอให้เห็นข้อบิดเบือนในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ ในเรื่องการก่อตั้งคณะราษฎรเมื่อปี 2469 โดยเฉพาะความคลาดเคลื่อนเรื่องปีที่ก่อตั้งและสถานที่ที่ไม่ตรงกับข้อเท็จจริง
วันนี้ในอดีต
21
ตุลาคม
2567
ในวาระชาตกาล 126 ปี ดร.ตั้ว ลพานุกรม สมาชิกคณะราษฎรผู้ก่อการอภิวัฒน์คนสำคัญ นักวิทยาศาสตร์ผู้รักประชาธิปไตยที่ต้องการให้ประชาชนในประเทศทานอาหารที่มีประโยชน์จึงเห็นความสำคัญของถั่วเหลือง โดยบทความนี้มาจากการบันทึกของบุคคลใกล้ชิดคือ นายแพทย์ยงค์ ชุติมา ที่ได้ร่วมเดินทางสำรวจด้านอาหารและวางนโยบายส่งเสริมการปลูกถั่วเหลืองในรัฐบาลคณะราษฎร
บทบาท-ผลงาน
16
ตุลาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เสนอให้เห็นข้อบิดเบือนในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ 2 ประกาคือ ประยูร ภมรมนตรี ไม่ได้เป็นผู้ชักจูงผู้ร่วมก่อการหลักของการอภิวัฒน์ และอุดมการณ์ประชาธิปไตยเกิดในนักเรียนนอกที่สามัคยานุเคราะห์สมาคมตั้งแต่ก่อนประยูรเดินทางมายุโรป
ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
สิงหาคม
2567
ในวาระ 92 ปีการอภิวัฒน์สยาม ได้มีการสร้างละครเวทีเรื่อง Before 2475 ของคนรุ่นใหม่โดยมีเนื้อหาย้อนกลับไปสู่ก่อนการอภิวัฒน์ตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎร ช่วง พ.ศ. 2468-2469 ของคณะผู้ก่อการทั้ง 7 คน
แนวคิด-ปรัชญา
27
สิงหาคม
2567
รวบรวมบทบรรณาธิการหนังสือพิมพ์วิทยาศาสตร์ในยุคที่ ดร.ตั้ว ลพานุกรม เป็นบรรณาธิการ พ.ศ. 2479-2480 แสดงให้เห็นความก้าวหน้าวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มิถุนายน
2567
วันชาติ พ.ศ. 2484 กรมโฆษณาการโดยรัฐบาลได้ริเริ่มจัดพิมพ์หนังสือรายเดือนหัวสำคัญชื่อว่า “เมืองไทย หนังสือภาพ” จำหน่ายในราคาเล่มละ 1 บาท ตัวเล่มจัดพิมพ์โดยโรงพิมพ์ไทยเขษม แล้ววางตลาดต่อเนื่องนับจากวันชาติ พ.ศ. 2484 จนถึงฉบับสุดท้ายเพื่อเฉลิมฉลอง “งานรัฐธรรมนูญ” บทความนี้จะนำเสนอเกร็ดประวัติศาสตร์จาก “เมืองไทย หนังสือภาพ” จำนวน 5 เล่ม
บทบาท-ผลงาน
5
มิถุนายน
2567
ชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยประยูร ภมรมนตรี เป็นหนังสือที่ได้รับรางวัลดีเด่นจากรัฐบาลไทยแต่นายปรีดี พนมยงค์ อ่านแล้วพบว่ามีความคลาดเคลื่อนหลายประการจึงฟ้องร้องคดีความเพื่อยืนยันสัจจะทางประวัติศาสตร์และบันทึกประกอบคำฟ้องฉบับนี้ชี้ให้เห็นว่ารายละเอียดทางประวัติศาสตร์ไม่ว่าจะจุดใหญ่และจุดเล็กล้วนมีความสำคัญ
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
เมษายน
2567
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475 โดยเหล่าผู้ก่อการที่รู้จักกันในนาม “คณะราษฎร” ได้เริ่มต้นจากแนวคิดของเหล่านักเรียนนอกที่มีแนวคิดเห็นด้วยกับนายปรีดี พนมยงค์ จึงเกิดการดำเนินการชักชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วมขบวนการ
แนวคิด-ปรัชญา
13
มีนาคม
2567
การค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ นับว่าเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งที่ช่วยยกระดับวงการอุตสาหกรรมให้มีความก้าวหน้าควบคู่กับการพาณิชยกรรม ซึ่งเป็นตัวขับเคลื่อนความเจริญของประเทศชาติ
แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2567
วิทยาศาสตร์ เป็นสิ่งที่ทำให้เราได้เข้าใจหลักความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันแล้ว ยังช่วยให้เราเพลิดเพลินกับการสืบเสาะบางอย่างเพื่อที่จะค้นหาคำตอบในสิ่งที่ยังไม่รู้
Subscribe to ตั้ว ลพานุกรม