ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์

ชีวิต-ครอบครัว
8
เมษายน
2567
จดหมายฉบับนี้แสดงความพยายามของนายปรีดี พนมยงค์และท่านผู้หญิงพูนศุข ในการยกย่องบทบาทอันสำคัญของสมเด็จกรมพระยาเทววงศ์วโรปการและกรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย ในการแก้ไขสนธิสัญญาช่วยให้ไทยได้รับเอกราช เสมอภาคกับนานาชาติ มีการส่งมอบหนังสือเพื่อสร้างความตระหนักในคุณูปการของท่านให้แก่คนรุ่นหลัง
บทสัมภาษณ์
4
เมษายน
2567
PRIDI Interview ไอรีน นิตยวรรธนะ : นางเอกพระเจ้าช้างเผือก หนังไทยแห่งสันติภาพ ในบทสัมภาษณ์นี้พาไปพูดคุยกับคุณไอรีนถึงความทรงจำที่ได้ร่วมแสดงภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก รวมถึงความประทับใจที่ดีต่ออาจารย์ปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
แนวคิด-ปรัชญา
22
มกราคม
2567
ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล กล่าวถึงประสบการณ์ การทำกิจกรรมในมหาวิทยาลัย ที่ทำให้เจอกับการสบประมาท การด้อยค่า สาเหตุสำคัญมาจากสภาพสังคมไทยที่ถูกกดทับด้วยระบบชายเป็นใหญ่ นอกจากนั้นยังกล่าวถึงการต่อสู้ช่วงในปี 2559 ซึ่งเป็นกรณีของ ‘กรกนก คำตา’ หรือพี่ปั๊ป ที่ถูกจับเข้าไปในเรือนจำ อีกทั้งประเด็นเรื่องรัฐสวัสดิการ และรัฐธรรมนูญอีกด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
21
มกราคม
2567
ทนายแจม ศศินันท์ ธรรมนิฐินันท์ จากบทบาททนายความความเพื่อสิทธิมนุษยชน นักการเมือง และความเป็นแม่ กับการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิของผู้หญิงและรัฐสวัสดิการของแม่และเด็กอย่างถ้วนหน้า
แนวคิด-ปรัชญา
20
มกราคม
2567
'ฐปณีย์ เอียดศรีไชย' กล่าวถึงประสบการณ์ในการทำงานด้านสื่อมวลชนในฐานะผู้หญิง กับความท้าทายในการทำงานด้านสิทธิมนุษยชนที่นับว่าไม่ใช่เรื่องง่าย ซึ่งการที่จะก้าวข้ามความกลัวได้ จะต้องมีความกล้าหาญในการนำเสนอประเด็นที่สนใจจนนำไปสู่การสร้างพื้นที่นำเสนอประเด็นเป็นของตัวเอง
แนวคิด-ปรัชญา
19
มกราคม
2567
'พัทธ์ธีรา นาคอุไรรัตน์' เปิดประเด็นการเสวนาด้วยการกล่าวถึงท่านผู้หญิงพูนศุข ที่เป็นต้นแบบสำคัญที่นักสันติภาพที่สำคัญคนหนึ่งในสังคมไทย อีกทั้งบทบาทและอุปสรรคของผู้หญิง ที่ลุกขึ้นมาเป็นแกนนำในการผลักดันประเด็นต่างๆ รวมไปถึงความเจ็บปวดของคนกลุ่มน้อยที่ในสังคมรับฟังแต่คนเสียงดังๆ
15
มกราคม
2567
“สถาบันปรีดี พนมยงค์” จัดงานเสวนา PRIDI Talks #24: 112 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ “การต่อสู้ของผู้หญิงเพื่อสิทธิและสันติภาพ” ณ สมาคมธรรมศาสตร์ฯ ซอยงามดูพลี
ชีวิต-ครอบครัว
2
มกราคม
2567
ในวาระรำลึก 112 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ คู่ชีวิตของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ ที่ครองคู่ร่วมฝ่าฟันมรสุมชีวิตตราบจนวาระสุดท้ายมาได้อย่างเด็ดเดี่ยวและหยัดยืนต่อสู้อย่างมั่นคงจากปัญหาทางการเมืองและนำพาครอบครัวผ่านวิกฤติได้ในทุกครั้ง
ศิลปะ-วัฒนธรรม
5
พฤศจิกายน
2566
“แสงสัจจา” [Sang Sajja] ละครร้องแบบไทยสร้างใหม่ ทำการแสดงโดย กลุ่มละครอนัตตา Anatta Theatre เขียนบทและกำกับโดย ประดิษฐ ประสาททอง หนึ่งในสามผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มละครอนัตตาและ ศิลปินศิลปาธรสาขาศิลปะการแสดงคนแรก
บทสัมภาษณ์
13
ตุลาคม
2566
จุดเปลี่ยนสำคัญของกรมราชทัณฑ์ เกิดขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 รัฐบาลคณะราษฎรได้ให้ความสำคัญกับการดูแลนักโทษมากขึ้น โดยนายปรีดี พนมยงค์ ได้นำเอาความรู้เกี่ยวกับอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยาสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้กับงานราชทัณฑ์
Subscribe to ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์