ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2566
คำอธิบายชุดความคิดและหัวใจทางการเมืองของ 'ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์' ด้วยหลัก "สันติประชาธรรม" ซึ่งเน้นย้ำถึงความสำคัญของสันติวิธีเพื่อให้ถึงพร้อมด้วยประชาธรรมของผู้คน ผ่านการวิเคราะห์แตกย่อยอุดมคติทางการเมืองและความปรารถนาที่ ศ.ดร.ป๋วยต้องการให้บังเกิดขึ้นและไหลเวียนภายในสังคมไทย
บทบาท-ผลงาน
28
ธันวาคม
2565
"เกิดใหม่ครั้งนี้จะสร้างประเทศที่ดีได้หรือเปล่านะ" ผลงานจากปลายปากกาของ 'หฤษฎ์ มหาทน' หรือ 'StarlessNight' หนึ่งในนักโทษทางความคิดของรัฐไทย โดยผู้เขียนได้ทบทวน "อุดมการณ์ทางการเมือง" และ "ความมุ่งมาดปรารถนา" ของหฤษฎ์ที่ได้ถ่ายทอดลงสู่ทุกๆ ตัวอักษร จนวรรณกรรมเล่มดังกล่าวได้กลายเป็นอาวุธทางความคิดเพื่อปลูกฝังคุณค่าของประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
16
ธันวาคม
2565
กล้า สมุทวณิช กล่าวถึง "ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ" "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ" และ "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญดั้งเดิม" ตลอดจนเส้นทางของรัฐธรรมนูญนับตั้งแต่อดีตจนถึงฉบับปัจจุบันในสายธารประวัติศาสตร์การเมืองไทย พร้อมกันนี้ได้เน้นย้ำช่องโหว่ทางกฎหมายเพื่อลดอุปสรรคสำหรับรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนที่กำลังจะมาถึง อีกทั้งยังถอดบทเรียนจากวรรณกรรมเรื่อง "เกิดใหม่ครั้งนี้จะสร้างประเทศที่ดีได้หรือเปล่านะ" เพื่อให้ได้ซึ่งรัฐประชาธิปไตยอย่างแท้จริง
แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2565
“วงจรอุบาทว์ทางการเมืองไทย” นั้น เป็นที่รู้กันว่าหมายถึงวงจรแห่งการรัฐประหารฉีกรัฐธรรมนูญเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้นมารอคณะรัฐประหารคณะต่อไปมาฉีกทิ้ง 
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
ตุลาคม
2565
คดีฟ้องร้อง 'นายฉ่ำ จำรัสเนตร' อดีตครูประชาบาลผู้สนับสนุน "คณะราษฎร" และ "การอภิวัฒน์สยาม 2475" อย่างแข็งขัน ในเวลาต่อมา จากผู้ทำงานด้านการศึกษาแต่เมื่อลงสู่สนามการเมือง ครูฉ่ำก็ได้รับเลือกจากประชาชนและกลายมาเป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ทว่า ด้วยพฤติการณ์ที่ไม่เหมือนข้าราชการคนอื่นๆ เขาจึงถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้มีความวิกลจริต
ศิลปะ-วัฒนธรรม
8
กันยายน
2565
เสียงจาก "ชนเผ่าพื้นเมือง" ผู้เรียกร้องสิทธิและเสรีภาพพึงมีในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของพลเมืองแห่งรัฐ ผ่านบรรยากาศของกิจกรรม "วันชนเผ่าพื้นเมือง" อันเป็นเวทีสาธารณะให้กับทุกคนร่วมทำความเข้าใจต่อประเด็นวิถีชีวิตและสิทธิมนุษยชนของชนเผ่าพื้นเมือง โดยใช้พลังทางวัฒนธรรม คือ soft power ซึ่งแสดงถึงอัตลักษณ์และตัวตนในรูปแบบต่างๆ เช่น คีตศิลป์ นาฏศิลป์ ศิลปะ และภาพยนตร์ เป็นต้น
ศิลปะ-วัฒนธรรม
23
กรกฎาคม
2565
ความสำเร็จของ “กรุงเทพกลางแปลง” เทศกาลหนังกลางแปลงที่จะถูกจัดขึ้นตั้งแต่ วันที่ 7-31 กรกฎาคม 2565 โดยความร่วมมือของภาครัฐ (กรุงเทพมหานคร) และเอกชน
แนวคิด-ปรัชญา
15
มิถุนายน
2565
การขับเคลื่อนเพื่อรับรองการ “สมรสเท่าเทียม” ในประเทศไทยไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เป็นกระบวนการที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาประมาณเกือบ 10 ปี
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
พฤษภาคม
2565
‘อนันต์ โลเกตุ’ เด็กหนุ่มวัย 18 ปี จากอำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ลาอุปสมบทจากการบวชสามเณรวัดใกล้บ้าน เพื่อเข้าสมัครเรียนต่อในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อเปิดเทอมไม่นาน เขาก็ได้ประจักษ์การรัฐประหารด้วยตาของตัวเอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 คือ การเป็นพยานรู้เห็นโดยตรงต่อการใช้กำลังอาวุธเปลี่ยนแปลงรัฐบาลสำเร็จ ครั้งที่ 13 ในประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่
บทสัมภาษณ์
30
เมษายน
2565
#PRIDIInterview ขอนำเสนอ ความรู้เรื่องของ “ภาษี” ก่อน และ หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดย 'คุณศิริกัญญา ตันสกุล' รองหัวหน้าพรรคก้าวไกลฝ่ายนโยบาย ที่จะพาคุณไปเรียนรู้และทำความเข้าใจ ตั้งแต่เรื่องของภาษีในแง่ประวัติศาสตร์ว่าด้วยเรื่อง "ประมวลรัษฎากร" ว่าคืออะไร สาเหตุที่ต้องมีการสถาปนาประมวลรัษฎากรขึ้นนั้นด้วยเพราะเหตุใด
Subscribe to ประยุทธ์ จันทร์โอชา