ประเทศฝรั่งเศส
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
24
ตุลาคม
2567
บันทึกความห่วงใยถึงประเทศชาติผ่านเหตุการณ์ทางการเมือง ของนายปรีดี พนมยงค์ ระหว่างพำนักอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศส ผ่านบันทึกความทรงจำของคุณ วาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ ลูกสาวคนเล็กของครอบครัวปรีดี พูนศุข พนมยงค์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
17
พฤษภาคม
2567
เรื่องราวเกี่ยวกับประสบการณ์การเดินทางไปเยี่ยม ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ฝรั่งเศส โดยคุณอรุณ เวชสุวรรณ ประกอบด้วยบรรยายรายละเอียดต่างๆ ตั้งแต่การเตรียมการเดินทาง บรรยากาศปารีส และการพบปะบุคคลสำคัญของไทย
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
21
เมษายน
2567
ปลายชื่นชมระบบการศึกษาของฝรั่งเศสที่เปิดกว้างสำหรับประชาชนทุกเพศ วัย และอาชีพ รวมทั้งได้รับของขวัญจากลูกศิษย์ซึ่งแสดงถึงความประทับใจและความขอบคุณที่มีต่อปลาย
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
6
เมษายน
2567
ความสัมพันธ์ของครูฉลบชลัยย์ พลางกูร กับท่านปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุขเป็นความสัมพันธ์ที่อบอุ่นและเต็มไปด้วยความรัก เป็นความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งและมีอิทธิพลต่อชีวิตในชีวิตครูฉลบชลัยย์
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
12
มกราคม
2567
เนื่องในโอกาสครบ 112 ปีชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ เชิญชวนอ่านบทสัมภาษณ์เรื่องราวชีวิตส่วนตัว ครอบครัว การใช้ชีวิตคู่หลังสมรสกับท่านปรีดี พนมยงค์ การทำงานของท่านอาจารย์ปรีดี
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
23
กรกฎาคม
2566
หลังจากที่แม่ของปลายเป็นอิสระจากการจับกุม เนื่องจากอัยการไม่สั่งฟ้อง แต่ถึงอย่างไรก็ตามพี่ชายของปลายกลับถูกศาลตัดสินให้จำคุก แม่ของปลายจึงตัดสินใจพาปลายย้ายไปอยู่ฝรั่งเศส
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
14
กุมภาพันธ์
2565
แม้ไม่ปรากฏว่า ฯพณฯ รัฐบุรุษอาวุโสของไทยเล่นเครื่องดนตรีชนิดใดเป็น แม้ไม่ปรากฏว่ารัฐบุรุษอาวุโสผู้นี้ประพันธ์เพลงใดๆ ไว้หรือไม่ แต่นั่นไม่ได้หมายความว่า นายปรีดี พนมยงค์ ไม่มีดนตรีในหัวใจ
ดุษฎี พนมยงค์ ธิดาของเขา เล่าว่า “ยามว่างจากการเรียน หรือการงาน แม้จะเครียดอย่างไร คนใกล้ชิดมักได้ยินนายปรีดีผ่อนคลายความเครียด ด้วยการฮัมทำนองเพลงไพเราะอย่างอารมณ์ดี”
ไม่เพียงเท่านั้น เพลงโปรดทั้งไทยและเทศของนายปรีดียังตีความเชื่อมโยงไปกับภารกิจทางการเมืองของเขาอีกด้วย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to ประเทศฝรั่งเศส
24
เมษายน
2564
บ่ายวันอังคารที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ผมสบโอกาสเข้าร่วมสัมภาษณ์คุณสุดา และคุณดุษฎี พนมยงค์ บุตรีของนายปรีดี และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ พร้อมคุณยงจิตต์ สุนทร-วิจารณ์ หลานชายผู้ใกล้ชิดขณะพำนักอยู่ในฝรั่งเศส ระหว่างสนทนาตอนหนึ่ง คุณยงจิตต์กล่าวถึงการที่เคยขับรถยนต์พานายปรีดีเดินทางไปเยี่ยมหลุมฝังศพอาจารย์ชาวฝรั่งเศส ผู้ซึ่งนายปรีดีเคารพรักและนับถือมากๆ ณ สุสานต่างเมืองช่วงเดือนพฤศจิกายนเป็นประจำทุกๆ ปี
พอเล่าตรงจุดนี้ ผมจึงเอ่ยถามคุณยงจิตต์ว่า
“อาจารย์ชาวฝรั่งเศสคนนั้นคือใคร?”
“ใช่อาจารย์เลเดอแกร์หรือเปล่า?”