ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ประเทศไทย

ชีวิต-ครอบครัว
23
กรกฎาคม
2566
หลังจากที่แม่ของปลายเป็นอิสระจากการจับกุม เนื่องจากอัยการไม่สั่งฟ้อง แต่ถึงอย่างไรก็ตามพี่ชายของปลายกลับถูกศาลตัดสินให้จำคุก แม่ของปลายจึงตัดสินใจพาปลายย้ายไปอยู่ฝรั่งเศส
แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2563
เอกราชในความใฝ่ฝันของปรีดี พนมยงค์ ก็เป็นความใฝ่ฝันร่วมกับผู้นํายุคใหม่ หลังปี พ.ศ. 2475 คนอื่น ๆ ที่ต้องการให้สยามมีเอกราชบริบูรณ์ปราศจากอํานาจสิทธิพิเศษใด ๆ บนแผ่นดินสยาม
ชีวิต-ครอบครัว
11
กรกฎาคม
2563
หลิวยู่ซี้ นักไวโอลินผู้มีชื่อเสียงโด่งดังจากสาธารณรัฐประชาชนจีน เขียนจดหมายถึงท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ หลังจากได้รับเชิญจากมูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ให้มาแสดงที่เมืองไทยใน พ.ศ. 2537
2
มีนาคม
2563
ความเป็นมาของชื่อ “ประเทศสยาม” กับ “ประเทศไทย” บทความนี้บอกเล่าที่มาของชื่อประเทศไทยว่าเป็นมาอย่างไร โดยเรียบเรียงมาจากต้นฉบับในหนังสือ Ma Vie Mouvementee ของปรีดี พนมยงค์ ผู้เขียน : ปรีดี พนมยงค์ พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์นีติเวชช์, กรุงเทพมหานคร พิมพ์ครั้งที่ : - ปีที่พิมพ์ : 2517 จำนวนหน้า : 20 หน้า ISBN : - สารบัญ - https://pridi.or.th/sites/default/files/pdf/pridibook050.pdf
2
มีนาคม
2563
ไทยหรือสยาม จากบันทึกของนายปรีดี พนมยงค์ และจากรายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2504 ไทยหรือสยามเป็นเอกสารทางประวัติศาสตร์ เป็นหนังสือที่มีคุณค่าเป็นอย่างยิ่งสำหรับนักประวัติศาสตร์  และผู้ที่สนใจในปัญหาบ้านเมือง ผู้เขียน : สุพจน์ ด่านตระกูล พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร พิมพ์ครั้งที่ : 2 ปีที่พิมพ์ : 2549 จำนวนหน้า : 150 หน้า ISBN : 974-90860-8-2 สารบัญ
1
มีนาคม
2563
ปราสาทเขาพระวิหารกับคำเตือนของ “ปรีดี พนมยงค์” เรื่องการได้ดินแดนมาด้วยการใช้กำลัง "เป็นความจำเป็นและผลประโยชน์ของประเทศไทยและประชาชนชาวไทย ที่จะต้องอยู่ร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านโดยสันติ ไม่ควรตกเป็นเหยื่อของสงครามเย็นและสงครามประสาท" แนวความคิดของปรีดี พนมยงค์จากข้อความข้างต้นนี้ แสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวพันของสองเรื่องอย่างแนบแน่น ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าสูงสุดต่อประเทศไทย นั่นคือ การอยู่ร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
1
มีนาคม
2563
มหาราชและรัตนโกสินทร์ ผู้เขียน : ปรีดี พนมยงค์ พิมพ์ที่ : สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก, กรุงเทพมหานคร พิมพ์ครั้งที่ : 2 ปีที่พิมพ์ : 2543 จำนวนหน้า : 91 หน้า ISBN : 974-7833-72-7 สารบัญ
Subscribe to ประเทศไทย