ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรัชญา

แนวคิด-ปรัชญา
28
กุมภาพันธ์
2567
ในปัจจุบันนี้คำว่า ‘พีลอสโซฟี' หรือ 'ปรัชญา’ ได้มีการให้ความหมาย คือ “ยอดสรุปของวิชาทั้งหลาย“ หรือ “วิทยาของวิทยาทั้งหลาย“ นอกจากนี้ยังมีความเชื่อมโยงกับความหมายทางภาษาบาลี - สันสกฤต ของคำว่า “ธรรม“ อีกด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
21
กุมภาพันธ์
2567
ธรรมชาติปรัชญา ได้มีการค้นพบสิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นจึงกลายเป็นที่มาของคำว่า "ไซเอนส์" หรือในภาษาไทยแปลว่า "วิทยาศาสตร์"
แนวคิด-ปรัชญา
11
กุมภาพันธ์
2567
ปรัชญา ไม่ได้เพียงแค่ศึกษาเพื่อหาความรู้และความจริงเท่านั้น แต่เป็นการผนวกรวมให้เกิดสมุฏฐานของโลกและสิ่งต่างๆ ที่เกิดเปลี่ยนแปลงจากธาตุและสสาร
แนวคิด-ปรัชญา
5
กุมภาพันธ์
2567
ปรัชญาคืออะไร? คำถามชวนสงสัยของใครหลายคนที่เริ่มจะก้าวสู่ศาสตร์แห่งการคบคิดที่มีมาอย่างยาวนานตั้งแต่ยุคกรีกโบราณ จนกระทั่งเมื่อคำว่า “ปรัชญา” ได้เดินทางเข้ามาในดินแดนไทย การหาคำนิยามศาสตร์แห่งการคบคิดนี้ในภาษาไทยได้มีการถกเถียงอย่างมากมาย
แนวคิด-ปรัชญา
30
เมษายน
2566
สาระจากงาน "PRIMATES and ME: เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์" ว่าด้วยเรื่องราวของวานรหรือลิงกับมนุษย์โดยมองผ่านแง่มุมต่างๆ มุ่งเน้นด้านไพรเมตวิทยา (Primatology) ผสมผสานเข้ากับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ มานุษยวิทยากายภาพ และมานุษยวิทยาวัฒนธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
27
มกราคม
2564
นายปรีดี พนมยงค์ เคยวิเคราะห์ไว้ที่ประวัติศาสตร์ไทยมีเรื่องของนิยายอยู่มากเป็นเพราะเหตุใด
แนวคิด-ปรัชญา
10
กรกฎาคม
2563
“จิตใจวิทยาศาสตร์” คือ สิ่งที่บุคคลซึ่งจะเข้าใจปรัชญาที่เป็นวิทยาศาสตร์ได้ พึงมี ปรีดี พนมยงค์ อธิบายว่า “จิตใจวิทยาศาสตร์” มี 6 ประการ ได้แก่
13
มีนาคม
2563
หนังสือ ข้อเขียนทางปรัชญา โดยปรีดี พนมยงค์
2
มีนาคม
2563
หนังสือ ขุมปัญญา โดย ปรีดี พนมยงค์
2
มีนาคม
2563
ความเป็นอนิจจังของสังคม ความเป็นอนิจจังของสังคม เป็นแนวคิดเชิงปรัชญาสังคมนิยมผนวกกับแก่นพุทธธรรม โดย ปรีดี พนมยงค์ พร้อมปาฐกถาธรรม เรื่อง ความเป็นอนิจจังของสังขารกับอิสรภาพของสังคม โดยพระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) ผู้เขียน : ปรีดี พนมยงค์ พิมพ์ที่ : เรือนแก้วการพิมพ์, กรุงเทพมหานคร พิมพ์ครั้งที่ : 9 ปีที่พิมพ์ : 2543 จำนวนหน้า : 77 หน้า ISBN : 974-7232-16-2 สารบัญ
Subscribe to ปรัชญา