ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปาล พนมยงค์

ชีวิต-ครอบครัว
26
กันยายน
2563
ความทรงจำของกลุ่มนักศึกษาที่มีต่อ "เพื่อนปาล" และของเพื่อนร่วมคุกคดีกบฏสันติภาพที่มีต่อ "คุณปาล"
แนวคิด-ปรัชญา
13
กันยายน
2563
คติธรรมเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ นายปาล พนมยงค์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวราลงกรณ
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
กันยายน
2563
วาทะของปาล พนมยงค์ ในศาลอาญา ที่กล่าวกับท่านผู้หญิงพูนศุข ผู้เป็นมารดา เมื่อคราวที่เธอมาลาบุตรชาย ก่อนออกเดินทางไปประเทศจีน ในเดือนเมษายน 2496 ในระหว่างที่เขากำลังถูกดำเนินคดีในข้อหากบฏภายในและภายนอกราชอาณาจักร หรือที่รู้จักกันในนาม "กบฏสันติภาพ"
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2563
อ่านชีวประวัติอันผันผวนของนายปาล บุตรชายรัฐบุรุษอาวุโส พลทหารผู้กลายเป็นกบฏ ได้จากบทความของท่านผู้หญิงพูนศุขเรื่องนี้
บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2563
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ แกะรอยหนังสือนวนิยาย และภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งมาจากบทประพันธ์และการอำนวยการสร้างของนายปรีดี พนมยงค์ ที่สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2483 ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียงเล็กน้อย
ชีวิต-ครอบครัว
17
กรกฎาคม
2563
ประวัติ วาณีเป็นน้องคนสุดท้องของครอบครัว เกิดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2484 ที่บ้านป้อมเพชรนิคม หลังจากเกิดได้ไม่กี่เดือน สงครามโลกครั้งที่ 2 ก็แผ่มาถึงประเทศไทย สภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษาหารือกันแล้วลงมติตั้งคุณพ่อเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ครอบครัวจึงย้ายไปพำนักที่ทำเนียบท่าช้างซึ่งทางราชการจัดให้ ในขั้นต้น วาณีเรียนที่โรงเรียนดรุโณทยานของคุณครูฉลบชลัยย์ พลางกูร และโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนต์
ชีวิต-ครอบครัว
13
มิถุนายน
2563
“ผมกับภรรยาสืบมาจากเชียดเดียวกัน” ท่านปรีดี พนมยงค์ กล่าวตอนหนึ่งในการสนทนากับนายฉัตรทิพย์ นาถสุภา เมื่อเดือนเมษายน 2525 ถึงความสัมพันธ์ทางสายเลือดระหว่างท่านกับท่านผู้หญิงพูนศุข ผู้เป็นศรีภริยา คําว่า “เชียด” นั้นเป็นคําโบราณที่ไม่ค่อยมีใครในปัจจุบันเรียกกัน หมายถึงพ่อของชวด (ทวด) ตามประวัติของท่านรัฐบุรุษอาวุโสนั้น เชียดของท่านมีบุตรอยู่หลายคน บุตรีคนหนึ่งชื่อปิ่นได้แต่งงานกับจีนก๊ก แซ่ตั้ง เป็นพ่อค้าเชื้อชาติจีน ทั้งสองมีบุตร หลายคนคนหนึ่งชื่อเกิด ได้แต่งงานกับนางคุ้ม มีบุตร 8 คน ชื่อ ฮวด ชุ้น แฟง ง้วย ใช้ ฮ้อ เสียง และบุญช่วย
บทสัมภาษณ์
10
มิถุนายน
2563
ท่านผู้หญิงพูนศุข เกิดในสมัยรัชกาลที่ 6 ในตระกูล ณ ป้อมเพชร์ ซึ่งเป็นตระกูลขุนนาง  บิดาของท่านคือ พระยาชัยวิชิตวิศิษฎ์ธรรมธาดา เป็นอธิบดีกรมราชทัณฑ์คนแรกของประเทศ  เมื่ออายุไม่ถึง 17  ปี ท่านผู้หญิงก็สมรสกับนายปรีดี พนมยงค์ ดอกเตอร์หนุ่มนักกฎหมายชื่อดังสมัยนั้น
ชีวิต-ครอบครัว
12
พฤษภาคม
2563
บทสัมภาษณ์ครอบครัวนายปรีดี พนมยงค์ จากหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2548 ช่วงปีพ.ศ.2490 ประเทศไทยยุคเผด็จการครองเมือง เหตุผลทางการเมืองหลายครั้งหลายคราทำให้คนในครอบครัวนายปรีดี พนมยงค์ ถูกกลั่นแกล้ง ถูกให้ร้ายป้ายสี และรังแก จนจำต้องเดินทางออกนอกประเทศ ลี้ภัยไปพำนักยังดินแดนไกลบ้าน
Subscribe to ปาล พนมยงค์