ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปาล พนมยงค์

ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
ตุลาคม
2565
ฯลฯ ถ้าขาดโดม.....เจ้าพระยา.....ท่าพระจันทร์.....ก็ขาดสัญญลักษณ์[1]พิทักษ์ธรรม (บทกลอนของ เปลื้อง วรรณศรี สนับสนุนนักศึกษา มธก. คัดค้านอำนาจเผด็จการ หลัง 8 พ.ย. 2490) “โดม” คือท่านปรีดี พนมยงค์ สูงส่ง, ฉลาด, ชาญ, หาญกล้า ท่านอุทิศทุกอย่างตลอดมา เพื่อชาติเพื่อประชาชาวไทย. ลูก (คุณปาล) เมีย (ท่านผู้หญิงพูนศุข) ติดคุกติดตะราง ท่านต้องนิราศร้างภัยใหญ่ สามสิบกว่าปีที่จากไป ดวงใจท่านมิได้เปลี่ยนแปลง
แนวคิด-ปรัชญา
14
กันยายน
2565
อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ หยิบยกข้อมูลทางประวัติศาสตร์ของความเป็นอนิจจังที่ปรากฏขึ้นจากทั่วทุกสารทิศ เพื่อนำเสนอถึงการกลวิธี ลักษณะ และรูปแบบ ที่เกิดขึ้นในการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบเก่าไปสู่ระบอบใหม่
ชีวิต-ครอบครัว
10
กันยายน
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' เล่าเรื่องราวความรัก ความห่วงใย และความพยายามของผู้เป็นพ่อ ในการศึกษาค้นคว้าและติดตามข่าวสารเกี่ยวกับวิธีการรักษาโรคมะเร็ง ส่งผ่านคำแนะนำรวมถึงกำลังใจเป็นถ้อยคำในจดหมายที่เขียนถึงปาล ภายหลังเมื่อบุตรชายต้องล้มป่วยจากโรคร้าย ด้วยความหวังที่อยากจะเห็นปาลหายขาดจากอาการป่วยและกลับมามีสุขภาพแข็งแรง สามารถทำคุณประโยชน์เพื่อประเทศชาติได้อีกครั้ง
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2565
9 กันยายน พ.ศ. 2524 เป็นวันที่ ‘ปาล พนมยงค์’ บุตรชายคนโตของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้จากไปอย่างสงบ
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2565
'ป๋วย อึ๊งภากรณ์' ผู้ที่ศรัทธาในความยุติธรรม เชื่อมั่นในความเท่าเทียม เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และปรารถนาที่จะเห็นโลกแห่งประชาธิปไตยที่สมบูรณ์พร้อมด้วยสันติประชาธรรม ตลอดจนมรดกทางความคิดที่ป๋วยได้สร้างไว้ขณะมีชีวิต คือ อุดมการณ์ที่ส่งต่อเพื่อจุดประกายให้แก่คนรุ่นหลังตลอดมา
ชีวิต-ครอบครัว
16
กรกฎาคม
2565
เนื่องในวาระคล้ายวันเกิด 16 กรกฎาคม ของ วาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ บุตรสาวคนสุดท้องของครอบครัวปรีดี-พูนศุข ที่ได้รับมรดกทางความคิดและนิสัยรักในความรู้ทางประวัติศาสตร์คล้ายปรีดี พนมยงค์ บิดา
บทบาท-ผลงาน
17
มิถุนายน
2565
ในวาระ 90 ปี การอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ยังมีเรื่องราวของคณะราษฎรในแง่มุมใหม่จากหลักฐานประวัติศาสตร์ ทั้งการตื่นขึ้นทางความคิดของราษฎรสามัญ การผลิตซ้ำแนวคิดของคณะราษฎรในเยาวชนคนหนุ่มสาว หรือ เยาวรุ่นอย่างต่อเนื่อง
แนวคิด-ปรัชญา
20
พฤษภาคม
2565
ศิริกัญญา ตันสกุล รองหัวหน้าพรรคก้าวไกล ฝ่ายนโยบาย กล่าวถึง "เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน" นั้น เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับหลายๆ เรื่อง โดยขึ้นอยู่กับว่าจะหยิบเป้าหมายดังกล่าวมาพิจารณาในแง่มุมใด และการพัฒนาที่ยั่งยืนจะไม่เกิดขึ้น หากปราศจากประชาธิปไตยสมบูรณ์
19
พฤษภาคม
2565
ตามประกาศเรื่อง ประกวดบทความชิงรางวัล “ทุนปาล พนมยงค์” ประจำปี 2565 หัวข้อ ‘มุมมอง SDGs เพื่อการพัฒนาสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์’ บัดนี้ คณะกรรมการตัดสินประกวดบทความชิงรางวัล "ทุนปาล พนมยงค์" ได้พิจารณาบทความที่ส่งเข้าประกวด จำนวน 6 ราย แล้ว ปรากฏว่ามีผู้สมควรได้รับรางวัลดังนี้ รางวัลชนะเลิศ เป็นเงิน 15,000 บาท นายอติรุจ ดือเระ ชั้นปี 4 คณะรัฐศาสตร์ รางวัลรองชนะเลิศ เป็นเงิน 10,000 บาท
บทบาท-ผลงาน
23
มีนาคม
2565
'ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์' เล่าถึงความเป็นมาระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ กับ “โรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” หรือ ต.ม.ธ.ก. โดยความมุ่งหวังของท่านผู้ประศาสน์การเพื่อจะปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาทุกระดับเพื่อให้สอดคล้องกับระบอบรัฐธรรมนูญ
Subscribe to ปาล พนมยงค์