ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ป๋วย อึ๊งภากรณ์

บทสัมภาษณ์
24
สิงหาคม
2564
เรื่องที่จะกล่าวในวันนี้มาจากความจำที่ได้อยู่ในเหตุการณ์และได้รับฟังจากคุณอาต่างๆ ที่เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย คุณพ่อผม ‘คุณอนันต์ จินตกานนท์’ ประจำอยู่ที่สถานอัครราชทูตไทย ณ กรุงวอชิงตัน 11 ปี มีส่วนในการร่วมก่อตั้งขบวนการเสรีไทยภาคสหรัฐอเมริกา 
บทบาท-ผลงาน
9
สิงหาคม
2564
ระหว่างเดินทางจากตึกคณะรัฐมนตรีกลับบ้านเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ข้าพเจ้ามีความรู้สึกเช่นเดียวกับนายทวี บุณยเกตุและรัฐมนตรีที่ไม่เข้าข้างฝ่ายญี่ปุ่นว่า “กลับบ้านด้วยความรันทดใจเป็นอย่างยิ่ง ชนิดที่เกิดมาในชีวิตไม่เคยมีความรู้สึกเช่นนี้มาก่อนเลย”
ชีวิต-ครอบครัว
6
มกราคม
2564
วันชื่นคืนสุขแห่งชีวิตคู่ของนายปรีดี-ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ตั้งแต่บรรยากาศของพิธีมงคลสมรส ชีวิตคู่เมื่อแรกเริ่ม ชีวิตส่วนตัว และรายได้จากการหาเลี้ยงชีพ รวมถึงเกร็ดประวัติศาสตร์ต่าง ๆ 'ภาณุมาศ ภูมิถาวร' ถ่ายทอดจากคำบอกเล่าของท่านผู้หญิงพูนศุขออกมาได้อย่างแจ่มชัด
ชีวิต-ครอบครัว
2
มกราคม
2564
ครั้งหนึ่งมีคนถามท่านผู้หญิงพูนศุขในรายการโทรทัศน์ว่า ความภาคภูมิใจที่สุดในชีวิตของเธอคืออะไร เธอตอบทันทีว่า “คือความภาคภูมิใจที่ได้อยู่ใกล้คนที่ซื่อสัตย์สุจริต มีความรู้วิชาที่จะรับใช้บ้านเมือง … ไม่ได้ผิดหวังในชีวิตส่วนตัว”
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2563
"ทหารชั่วคราว" อย่างนายป๋วย อึ๊งภากรณ์ เขียนเล่าเรื่องความทรงจำเมื่อครั้งเป็นเสรีไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ผ่านประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ กับ 'ท่านชิ้น' ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน ได้อย่างน่าสนใจ
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
สิงหาคม
2563
"จารุบุตร เรืองสุวรรณ" เล่าเรื่อง "นิทานเสรีไทย" กล่าวถึงเบื้องหลังการทำงานเสรีไทยของนายปรีดี พนมยงค์ จากตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งแต่การติดต่อกับเสรีไทยในต่างประเทศ การติดต่อกับฝ่ายสัมพันธมิตร ไปจนถึงการเจรจาสถานะของประเทศไทยหลังสงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
สิงหาคม
2563
ในบรรดาเสรีไทยสายอังกฤษที่เป็นทหาร นายป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้รับยกย่องทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการให้เป็นระดับหัวหน้าหรือระดับผู้นำคนหนึ่งของนักเรียนอังกฤษ ที่สมัครเข้าเป็นทหารในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 และนอกจาก พ.ต. เสนาะ นิลกำแหง (เนติบัณฑิตไทยปี 2470) ผู้มีโอวุโสแล้ว “ป๋วย อึ๊งภากรณ์” เป็นผู้เดียวที่ได้รับยศพันตรีแห่งกองทัพบกอังกฤษ
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
สิงหาคม
2563
"สำคัญที่เกียรติ" คือ หลักการในชีวิตของนายดิเรก ชัยนาม ผู้ก่อการ 2475 กำลังสำคัญของขบวนการเสรีไทย นักการทูตผู้โดดเด่น และนักการเมืองที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นคนซื่อสัตย์สุจริต
บทบาท-ผลงาน
3
กรกฎาคม
2563
เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม เวียนมาบรรจบ ผมในฐานะศิษย์เก่า มธ. ของท่านรัฐบุรุษปรีดี พนมยงค์ ผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอจารึกความรู้สึกไว้ว่า ท่านรัฐบุรุษอาวุโสไม่ได้จากไปไหน เพียงแต่อัฐิธาตุของท่านได้ลอยจากไปท่ามกลางทะเลใสสะอาด แต่ผลงานของท่านยังคงอยู่ และผมระลึกอยู่เสมอว่า ฯพณฯ ปรีดี ได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเปิดขึ้นแห่งแรกในประเทศไทย คือ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง  ผมกล้าพูดได้ว่า ไม่มีท่าน ไม่มีธรรมศาสตร์ ไม่มีธรรมศาสตร์ ก็ไม่มีพวกเราทุกคน 
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2563
ในวาระ 86 ปีแห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอร่วมรำลึกถึงโอกาสพิเศษนี้ผ่านบทความของศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เรื่อง "ปรีดี พนมยงค์ กับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (2)" ซึ่งเป็นตอนจบ ที่กล่าวถึงการบริหาร หลักสูตร การเรียนการสอนในยุคที่นายปรีดีเป็นผู้ประศาสน์การ รวมถึงสิ่งที่เรียกว่า ชีวิตและวิญญาณของธรรมศาสตร์ในยุคนั้น
Subscribe to ป๋วย อึ๊งภากรณ์