ป๋วย อึ๊งภากรณ์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
6
ตุลาคม
2567
ป๋วย อึ๊งภากรณ์ เขียนถึงเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 ด้วยการสรุปบริบททางการเมือง และเหตุการณ์อย่างละเอียดโดยขณะที่เกิดเหตุการณ์นั้นป๋วยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และลาออกในวันที่ 6 ตุลาคม 2519
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
สิงหาคม
2567
ปัญหาสามจังหวัดชายแดนใต้สั่งสมปัญหามาตั้งแต่กรณีหะหยีสุหลงในทศวรรษ 2490 และการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งนั้นสามารถเชื่อมโยงจากหลักเอกภาพ สันติภาพ สันติธรรมของปรีดี พนมยงค์ที่มีแนวคิดสันติภาพเริ่มต้นมาตั้งแต่สมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2567
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ เขียนเล่าชีวประวัติและผลงานสำคัญของ ศ.ดร. ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ไว้อย่างละเอียดและรอบด้านนับตั้งแต่ในครรภ์มารดาจนถึงเชิงตะกอน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2567
นิธินันท์ ยอแสงรัตน์ เสนอเรื่องบทเรียนประชาธิปไตยที่ได้จากอดีตถึงปัจจุบันในประการสำคัญคือ เราต้องลงมือทำในสิ่งที่ต้องการโดยมองว่าการสร้างประชาธิปไตยที่ดีคือ การสร้างความคิดที่ยอมรับความเห็นต่าง เคารพผู้อื่น ที่สำคัญคือ ควรมองที่ผลประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
มีนาคม
2567
ในวันที่ 27 มีนาคม 2513 ได้มีการอภิปรายการส่งเสริมการระดมทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม โดยอาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการยุติปัญหาที่เกิดขึ้นในการพัฒนาของอุตสาหกรรมของไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มีนาคม
2567
ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ท่านเป็นผู้ที่มีเชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐศาสตร์ อีกทั้งยังได้ดำรงตำแหน่งทีสำคัญในหน่วยงานต่างๆ เช่น กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง, ธนาคารแห่งชาติ รวมถึงตำแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤศจิกายน
2566
นิทรรศการ “๕๐ ปี ๑๔ ตุลา ศิลปะจักสำแดง” ด้วยการร่วมมือกันของมูลนิธิ 14 ตุลาและมูลนิธิเด็ก บอกเล่าการเมืองและเรื่องราวของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 รวมไปถึงงานเสวนาและผลงานที่จัดแสดงบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์การเมืองไทย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
29
กันยายน
2566
ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 หนึ่งปีได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกเป็นเหตุให้นายปรีดี พนมยงค์ต้องลี้ภัยทางการเมืองเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2476 โดยในปีเดียวกันนั้นวันที่ 29 กันยายน 2476 นายปรีดี พนมยงค์ก็ได้เดินทางหวนกลับสู่บ้านเกิดอีกครั้ง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
3
กันยายน
2566
การได้มาซึ่งสันติภาพของประเทศไทยล้วนมาจากการเสียสละของสมาชิกขบวนการเสรีไทยทุกภาคส่วนและไม่ใช่เพียงแค่การต่อต้านผู้มารุกรานไทยเท่านั้น แต่ยังต้องรักษาความเป็นมิตรกับฝ่ายสัมพันธมิตรด้วย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to ป๋วย อึ๊งภากรณ์
2
กันยายน
2566
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงว่าตลอดระยะเวลาการดำเนินงานของขบวนการเสรีไทยเพื่อกอบกู้ชาติ จะพบเห็นการเสียสละและความยากลำบากของผู้ปฏิบัติการ ขณะเดียวกันก็ปรากฏความช่วยเหลือจากมิตรแท้และประชาชนเสมอมา