ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ผิน ชุณหะวัณ

เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กุมภาพันธ์
2565
เกิดอะไรขึ้นในขณะที่คณะลิเกของสุชินกำลังจะถึงคิวออกอากาศในวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์อย่าง “ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492” ติดตามได้ในบทความของอาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ นี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ธันวาคม
2564
รัฐธรรมนูญหลายประเทศ มักใช้พื้นที่ของ “คำปรารภ” อันเป็นข้อความที่ปรากฏเป็นส่วนแรกของรัฐธรรมนูญ ในการบอกเล่าถึงอุดมการณ์ร่วมกันของชาติ อุดมการณ์ของประชาชน เช่น รัฐธรรมนูญฝรั่งเศส ที่ระบุถึงหลักเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ อันเป็นหลักการสำคัญของฝรั่งเศส ขณะที่คำปรารภของรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา กล่าวถึงการสถาปนารัฐธรรมนูญโดยประชาชน ด้านคำปรารภของ รัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ บอกเล่าถึงความภาคภูมิใจของชาวเกาหลีในประวัติศาสตร์ของชาติ อิสรภาพจากการปกครองญี่ปุ่น ภารกิจในการปฏิรูปประชาธิปไตย และมีความมุ่งมั่นที่จะรวมชาติให้เป็นหนึ่งเดียว เสริมสร้
บทบาท-ผลงาน
5
ธันวาคม
2564
ดิฉันรู้จักคุณเตียงครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2476 เมื่อดิฉันไปเข้าเรียนอักษรศาสตร์ที่ ม.จุฬาลงกรณ์ ตอนนั้นคุณเตียงเรียนจบไปหลายปีแล้ว ตั้งแต่ครั้งที่แผนกอักษรศาสตร์ยังไม่มีปริญญา ปีที่ดิฉันไปเข้านั้นดูเหมือนจะเป็นปีแรกที่เขาตั้งปริญญาขึ้น เพื่อนๆ คุณเตียงกลับมาเรียนต่อหลายคน คุณเตียงไม่ได้มาเรียน (เข้าใจว่าเริ่มยุ่งกับการเมือง) แต่ก็ได้แวะวนมาเยี่ยมเพื่อนๆ ที่จุฬาฯ เสมอ และเมื่อมีงานเลี้ยงของคณะอักษรศาสตร์ก็มาร่วมด้วยไม่เคยขาด คุณเตียงเป็นคนใจกว้าง รักหมู่คณะเป็นยอด เพื่อนๆ จึงรักเธอมากทุกคน เพื่อนเหล่านี้เป็น น.ร.หญิงหลายคนที่มาจาก ร.ร. ราชินี ร.ร.
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤศจิกายน
2564
การริเริ่มวางนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศไทยนั้น เกิดขึ้นครั้งแรกภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองสยามในปี พ.ศ. 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤศจิกายน
2564
การเมืองไทย ตกอยู่ใน ‘วงจรอุบาทว์’ การรัฐประหาร - การร่างรัฐธรรมนูญที่ไม่เป็นประชาธิปไตย - การจัดการเลือกตั้ง - เกิดการทุจริตคอร์รัปชัน - เกิดวิกฤติทางการเมืองอีกครั้ง - และกลับมาจบที่การรัฐประหาร อีกครั้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
พฤศจิกายน
2564
ในที่สุด กลุ่มนายทหารนอกประจำการนำโดย ผิน ชุณหะวัณ กาจ กาจสงคราม เผ่า ศรียานนท์ สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ถนอม กิตติขจร ประภาส จารุเสถียร ก็ทำรัฐประหารเป็นผลสำเร็จ ยกเลิกรัฐธรรมนูญ 2489 ที่มความเป็นประชาธิปไตยอย่างมาก และประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใต้ตุ่ม
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2564
ท่ามกลางกระแสข่าวความพยายามก่อการรัฐประหารที่ยังคงดำรงอยู่ตลอดเวลา แต่พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ยังคงมีความมั่นใจในเสถียรภาพในรัฐบาลของตนจนถึงขนาดกล่าวว่า “นอนรอปฏิวัติมานานแล้ว ไม่เห็นปฏิวัติเสียที”
แนวคิด-ปรัชญา
13
กรกฎาคม
2564
แม้ว่า “มรดกคณะราษฎร” หลายอย่างจะเปลี่ยนไป แต่สิ่งหนึ่งที่ยังคงอยู่นั่นคือ “แนวทางการแพทย์และการสาธารณสุขสมัยใหม่”
บทสัมภาษณ์
3
พฤษภาคม
2564
ครั้งแรกกับท่านปรีดี และ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ที่ปารีสประเทศฝรั่งเศส พ.ศ. 2513 (1970) กับ ครั้งสุดท้ายในบางกอก สยามประเทศ (ไทย) พ.ศ. 2544 (2001)
บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2564
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ได้บอกกับเราว่า "เพราะเหตุใดการขึ้นสู่อำนาจของคณะรัฐประหาร จึงก่อให้เกิดผลในการทำลายประชาธิปไตย และล้มล้างลัทธิธรรมนูญได้ถึงเพียงนี้"
Subscribe to ผิน ชุณหะวัณ