ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

เกร็ดประวัติศาสตร์
14
มิถุนายน
2565
การทำนาเป็นรากฐานสำคัญที่สุดของเศรษฐกิจสังคมสยาม ตลอดระยะเวลาของประวัติศาสตร์อันยาวนาน การปลูกข้าวเพื่อส่งออกและการค้าภายในเป็นกิจกรรมหลักทางเศรษฐกิจ โดยในช่วงต้นของ พ.ศ. 2400 สินค้าส่งออกทางการเกษตรมีสัดส่วนถึง 80 เปอร์เซ็นต์ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด สังคมเกษตรกรรมช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้นจึงต่อเนื่องยาวนานจนถึง พ.ศ. 2490 สังคมภาคเกษตรในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ ถือเป็นสังคมที่ประกอบไปด้วยชาวนาอิสระจำนวนมาก และชาวนาเหล่านี้ก็สามารถจับจองพื้นที่ในการเพาะปลูกได้ สังคมในลักษณะดังกล่าวสะท้อนถึงวัฒนธรรมแห่งการพึ่งตนเอง ให้คุณค่ากับความเสมอภาค และยึดถือประเพณีช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
บทบาท-ผลงาน
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"
แนวคิด-ปรัชญา
8
กุมภาพันธ์
2565
-๒- ในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๗๘ ขณะที่ข้าพเจ้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กรมโยธาเทศบาลสมัยนั้น (ที่ได้ตั้งขึ้นโดยรวมกรมทางกับกรมนคราทรเข้าเป็นกรมเดียวกัน มีหน้าที่ในการทางทั่วราชอาณาจักร และการคมนาคมส่วนท้องถิ่น) ได้จัดร่างโครงการทางทั่วราชอาณาจักรตามคำสั่งของข้าพเจ้า เสร็จแล้ว ได้เสนอร่างโครงการนั้นมายังข้าพเจ้าเพื่อพิจารณา 
ชีวิต-ครอบครัว
9
มกราคม
2565
ถึงแม้ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ จะเป็นภริยา นายปรีดี พนมยงค์ สมาชิกคนสำคัญของคณะราษฎร ผู้กระทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตยเมื่อวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
ธันวาคม
2564
“รัฐธรรมนูญ อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์” “เพาะความเลื่อมใสในรัฐธรรมนูญ” “ปกป้องรัฐธรรมนูญ”
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
ธันวาคม
2564
หลังจากพระราชทานรัฐธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามฉบับชั่วคราวเมื่อวันที่ 27 มิถุนายนปีเดียวกัน และนั่นจึงทำให้เกิดธรรมเนียมที่เรียกว่า งานฉลองรัฐธรรมนูญ ตามมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
ธันวาคม
2564
คนไทยจำนวนมากรู้ว่าวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปีเป็นวันรัฐธรรมนูญ เป็นวันหยุดราชการ แต่ก็จบแค่นั้น ต้องเป็นคนอายุตั้งแต่ประมาณ 65 หรือ 70 ปีขึ้นไป ถึงจะเคยมีประสบการณ์ร่วมหรือพอจะจดจำได้ถึงช่วงที่ไทยมีงานฉลองรัฐธรรมนูญสนุกสนานเป็นการใหญ่ จนคำกล่าวเชิงเปรียบเปรยว่างานใหญ่จริงนั้นต้องจัดกัน 3 วัน 3 คืนก็ยังดูจะน้อยเกินไป เพราะมีอยู่ครั้งหนึ่งที่คนไทยเคยฉลองกฎหมายสูงสุดของประเทศกันมาแล้วยาวนานต่อเนื่องถึง 15 วัน 15 คืน
แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2564
ปรีดีได้ชวนให้ตั้งข้อสังเกตและพิจารณาถึงบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่มีทั้ง “บทถาวร” และ “บทเฉพาะกาล” ว่า ต้องมีหลักในการพิจารณาว่าบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญฉบับต่างๆ นั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ธันวาคม
2564
รัฐธรรมนูญหลายประเทศ มักใช้พื้นที่ของ “คำปรารภ” อันเป็นข้อความที่ปรากฏเป็นส่วนแรกของรัฐธรรมนูญ ในการบอกเล่าถึงอุดมการณ์ร่วมกันของชาติ อุดมการณ์ของประชาชน เช่น รัฐธรรมนูญฝรั่งเศส ที่ระบุถึงหลักเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ อันเป็นหลักการสำคัญของฝรั่งเศส ขณะที่คำปรารภของรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา กล่าวถึงการสถาปนารัฐธรรมนูญโดยประชาชน ด้านคำปรารภของ รัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ บอกเล่าถึงความภาคภูมิใจของชาวเกาหลีในประวัติศาสตร์ของชาติ อิสรภาพจากการปกครองญี่ปุ่น ภารกิจในการปฏิรูปประชาธิปไตย และมีความมุ่งมั่นที่จะรวมชาติให้เป็นหนึ่งเดียว เสริมสร้
แนวคิด-ปรัชญา
6
ธันวาคม
2564
บริบทของการพัฒนากฎหมายแรงงานในประเทศไทย เริ่มต้นก่อรูปอย่างเป็นรูปเป็นร่างขึ้นในช่วงหลังปี 2475 เนื่องจากในเวลานั้นอาชีพของคนส่วนใหญ่เป็นข้าราชการและเกษตรกร อาชีพแรงงานยังเป็นอาชีพของคนส่วนน้อยในประเทศ[1] และกลุ่มผู้ใช้แรงงานโดยส่วนมากเป็นคนต่างด้าวมากกว่า 
Subscribe to พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว