พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
บทความ • บทบาท-ผลงาน
20
มีนาคม
2566
อ่านความคิดด้านเศรษฐกิจของ "นายปรีดี พนมยงค์" ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์และอัตชีวประวัติ ได้แก่ คำชี้แจงเค้าโครงการเศรษฐกิจ, รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร และรายงานการประชุมกรรมานุการพิจารณาเค้าโครงการเศรษฐกิจ เพื่อทำความเข้าใจเค้าโครงการเศรษฐกิจ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
มีนาคม
2566
การเมืองของการผลิตซ้ำและการต่อสู้บนพื้นที่ทางความทรงจำ ผ่านการวิเคราะห์การเกิดขึ้นใหม่ของ "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" และ "พระบรมราชวินิจฉัยฯ" ในหลายรูปแบบ พร้อมทั้งสะกดรอยวิวาทะแห่งการพิมพ์และสัญญะทางความคิด ซึ่งพบร่องรอยการโต้ตอบเพื่อสถาปนาการรับรู้ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 เป็นต้นมา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
10
มีนาคม
2566
ย้อนรอยสำรวจการเมืองแห่งการอ่าน ผ่านการปะทะโต้ตอบทางอุดมการณ์ด้วยการผลิตตีพิมพ์ซ้ำระหว่าง "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" และ "พระบรมราชวินิจฉัยฯ" โดยเริ่มต้นข้อทบทวนความเป็นมาและเป้าหมายของเอกสารทางประวัติศาสตร์ทั้งสองฉบับ ก่อนจะนำไปสู่การพยายามรื้อฟื้นเอกสารทั้งสองฉบับในนับตั้งแต่ พ.ศ. 2490 เป็นต้นไป
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2566
บันทึกร่วมของ ร.ต.เนตร พูนวิวัฒน์ และ ร.ต.เหรียญ ศรีจันทร์ ผู้เป็นสมาชิกของคณะ ร.ศ. 130 บอกเล่าความเชื่อมร้อยทางความคิดในความพยายามของการเปลี่ยนแปลงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย จากคณะ ร.ศ. 130 ถึง คณะราษฎรเมื่อครั้งการอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
มกราคม
2566
ภีรดา ชวนพิจารณาถึงฐานะทางประวัติศาสตร์ของการเลือกตั้งไทยในช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมือง โดยวิพากษ์และเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเมืองในช่วงเวลาที่ไล่เลี่ยกันต่อพื้นที่อื่นๆ ในฟากฝั่งตะวันตก ซึ่งเป็นการท้าทายต่อองค์ความรู้เดิมของพัฒนาการสิทธิสตรีต่อการเลือกตั้ง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
30
ธันวาคม
2565
คำอธิบายโดยทั่วไปถึงความแตกต่างของรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ ระหว่างฉบับที่หนึ่ง (24 มิถุนายน 2475) หรือพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม (ชั่วคราว) พ.ศ. 2475 และฉบับที่สอง (10 ธันวาคม 2475) หรือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 มักจะชี้ให้เห็นถึงการประนีประนอมระหว่างฝ่ายคณะราษฎรและฝ่ายตัวแทนของระบอบเก่า จนกระทั่งได้ข้อสรุปในเรื่องสำคัญคือ การยอมรับอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย แต่กำหนดให้พระมหากษัตริย์เป็นประมุขของรัฐ และทรงใช้อำนาจอธิปไตยนั้นผ่านฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
20
ธันวาคม
2565
เมื่อสิ้นสุดสงคราม ปรีดี พนมยงค์ได้สถาปนาพระเกียรติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้คืนคงเป็นพระมหากษัตริย์ของประเทศไทยอย่างเต็มที่ ดังปรากฏในลายพระหัตถ์ของหม่อมเจ้าศุภสวัสดิ์ฯ และพระกระแสรับสั่งของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี
บทความ • บทบาท-ผลงาน
6
พฤศจิกายน
2565
แท้จริงแล้ว ความคิดที่จะสร้างหอประชุมมหาวิทยาลัยมิได้เพิ่งจะมาเริ่มในสมัย จอมพล ป. ดำรงตำแหน่งอธิการบดี แต่หากเคยมีความคิดที่จะจัดสร้างมาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในยุคที่ นายปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
15
ตุลาคม
2565
15 ตุลาคม พ.ศ. 2479 เป็นวันที่ทางราชการในสมัยรัฐบาลของพระยาพหลพลพยุหเสนา ได้สร้างอนุสาวรีย์ 17 ทหาร-ตำรวจขึ้น ณ ตำบลหลักสี่ อำเภอบางเขน จังหวัดพระนคร เพื่ออุทิศแด่ผู้ที่เสียชีวิตจากการเข้าร่วมปราบปรามกบฏบวรเดช ระหว่างวันที่ 11-24 ตุลาคม พ.ศ. 2476
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
11
ตุลาคม
2565
"กบฏบวรเดช" เหตุการณ์สำคัญในระยะเปลี่ยนผ่านของการเมืองไทย วิเคราะห์ผ่านการขับเคี่ยวของชุดประวัติศาสตร์ นำไปสู่การตีความที่แตกต่างกัน โดยมีตัวแปรสำคัญคือ อุดมการณ์ทางการเมืองของผู้ถ่ายทอดซึ่งเป็นประจักษ์พยานในเหตุการณ์และนักวิชาการในเวลาต่อมา อีกทั้งนำเสนอเอกสารทางประวัติศาสตร์ คือ เอกสาร "การตรวจสอบโทรเลข" อันปรากฏบทบาทของ 'นายปรีดี พนมยงค์'