ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

แนวคิด-ปรัชญา
6
กันยายน
2565
'นายปรีดี พนมยงค์' เคยกล่าวคำปราศรัยต่อธรรมศาสตร์บัณฑิตและและเนติบัณฑิต นักสันติภาพ เมื่อวันที่ 28 ก.ค. 2514 ณ ชานกรุงปารีส โดยมีใจความถึงเรื่องราวที่พึงระลึกอันเป็นความหลังเมื่อครั้งที่บัณฑิตทั้งหลายได้ประสิทธิ์ประสาทความรู้ ณ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
สิงหาคม
2565
หนึ่งชีวิตที่ผ่านเรื่องราวนานัปการซึ่งเป็นหนึ่งบันทึกในบรรทัดประวัติศาสตร์การเมืองไทย อาทิเช่น บทบาทสำคัญในปฏิบัติการเสรีไทยสายอังกฤษที่ทำให้แผ่นดินสยามคงไว้ซึ่งเอกราช จวบเมื่อแผ่นดินรัชกาลที่ 9 ภายหลังเกิดการรัฐประหาร 2490 ท่านชิ้นได้เดินทางลี้ภัยออกนอกประเทศ และกลับสู่บ้านเกิดเมืองนอนอีกครั้งใช้ชีวิตอยู่ที่ "สวนเสมา" สงบ เย็น และเป็นประโยชน์
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2565
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อมีบุคคลปริศนาเข้าเปลี่ยนป้าย “สะพานพิบูลสงคราม” บริเวณใกล้ๆ แยกเกียกกาย เป็นชื่อสะพาน “ดิ่น ท่าราบ”
แนวคิด-ปรัชญา
6
กรกฎาคม
2565
“งานรื่นเริงของพลเมืองในระบอบใหม่” เป็นกิจกรรมสำคัญที่ถูกจัดขึ้นอย่างแพร่หลายในยุคสมัยรัฐบาลคณะราษฎรนับตั้งแต่หลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2475
บทบาท-ผลงาน
5
กรกฎาคม
2565
ข้าพเจ้ารู้จักปราโมทย์ฯ ตั้งแต่ก่อน พ.ศ. 2475 ขณะที่ปราโมทย์ฯ เป็นนักเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรมซึ่งข้าพเจ้าเป็นผู้สอนคนหนึ่งแห่งโรงเรียนนั้น
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
เนื่องในวาระ 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยามของคณะราษฎร แทบจะไม่มีการเล่าถึงในวันที่ปรีดี พนมยงค์ และคณะราษฎร ถวายธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 แด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
แนวคิด-ปรัชญา
22
มิถุนายน
2565
‘ปรีดี พนมยงค์’ เป็นผู้เสนอให้เรียกการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ว่า “อภิวัฒน์” ซึ่งมาจากคำว่า “อภิ” หมายถึง ยิ่ง วิเศษ เหนือ กับคำว่า “วัฒน์” หมายถึง ความเจริญ ความงอกงาม
แนวคิด-ปรัชญา
16
มิถุนายน
2565
ณ ย่ำรุ่งของวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เกิดการอภิวัฒน์สยามโดยคณะราษฎร พระยาพหลพลพยุหเสนา อ่านแถลงการณ์คณะราษฎรฉบับแรก ณ ลานพระบรมรูปทรงม้า
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
มิถุนายน
2565
การทำนาเป็นรากฐานสำคัญที่สุดของเศรษฐกิจสังคมสยาม ตลอดระยะเวลาของประวัติศาสตร์อันยาวนาน การปลูกข้าวเพื่อส่งออกและการค้าภายในเป็นกิจกรรมหลักทางเศรษฐกิจ โดยในช่วงต้นของ พ.ศ. 2400 สินค้าส่งออกทางการเกษตรมีสัดส่วนถึง 80 เปอร์เซ็นต์ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด สังคมเกษตรกรรมช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้นจึงต่อเนื่องยาวนานจนถึง พ.ศ. 2490 สังคมภาคเกษตรในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ ถือเป็นสังคมที่ประกอบไปด้วยชาวนาอิสระจำนวนมาก และชาวนาเหล่านี้ก็สามารถจับจองพื้นที่ในการเพาะปลูกได้ สังคมในลักษณะดังกล่าวสะท้อนถึงวัฒนธรรมแห่งการพึ่งตนเอง ให้คุณค่ากับความเสมอภาค และยึดถือประเพณีช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
บทบาท-ผลงาน
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"
Subscribe to พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว