ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระยาทรงสุรเดช

เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2564
อาจก่อความแปลกใจให้แก่คุณผู้อ่านไม่น้อยทีเดียวว่า “พระยาพหลพลพยุหเสนา” (พจน์ พหลโยธิน) ผู้นำคณะราษฎรสายทหารที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
บทสัมภาษณ์
8
กรกฎาคม
2564
“คณะราษฎร 2475” คือ ปรากฏการณ์ทางประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่สำคัญมากและเป็นหัวเลี้ยวหัวต่อของความเปลี่ยนแปลงในแง่ของสังคม ในแง่ของการเมือง ในแง่ของอะไรอีกหลายอย่าง รวมทั้งเศรษฐกิจ และเรื่องวัฒนธรรม”
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
มิถุนายน
2564
น้อยคนนักจะทราบเรื่องที่นายปรีดี พนมยงค์เองก็เป็นอีกบุคคลหนึ่งผู้วางแผนสำรองไว้ด้วยเช่นกัน นั่นคือ “แผนตลิ่งชัน”
แนวคิด-ปรัชญา
7
มิถุนายน
2564
การสิ้นสุดลงของ “ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์” ในสยามจึงเป็นไปเพื่อการก่อเกิดใหม่ของ “ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” หรือ “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข”
บทบาท-ผลงาน
25
เมษายน
2564
นับจากการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของการเมืองการปกครองประเทศ ได้มีผู้แทนราษฎรชั่วคราวชุดแรกจำนวน 70 คน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก “คณะราษฎร” ทำการประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 โดยใช้ห้องโถงชั้นบนของพระที่นั่งอนันตสมาคมเป็นที่ประชุม
บทบาท-ผลงาน
2
ตุลาคม
2563
เหตุใดหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) จึงไม่ได้เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรนั้น อ่านต่อได้ในบทความของ 'อุดม เจริญรัตน์' เรื่องนี้
ศิลปะ-วัฒนธรรม
14
มิถุนายน
2563
สาเหตุของความแตกแยกภายในคณะราษฎร มีพื้นฐานสืบเนื่องมาจากความแตกต่างในอุดมการณ์ทางการเมืองของบุคคลชั้นหัวหน้าในคณะราษฎรเป็นสําคัญ  การรวมตัวกันของคณะราษฎรเป็นที่น่าสังเกตว่า ประกอบด้วยบุคคลซึ่งมีแนวความคิดต่างกันอยู่มาก แต่เท่าที่สามารถรวมกลุ่มกันได้ในระยะแรก เป็นเพราะบุคคลเหล่านี้มีจุดมุ่งหมายร่วมกันอยู่ คือ ความต้องการยึดอํานาจจากชนชั้นปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เพื่อสถาปนารัฐบาลชุดใหม่ภายใต้ระบอบประชาธิปไตย
Subscribe to พระยาทรงสุรเดช