ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พุทธทาสภิกขุ

เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มีนาคม
2568
ในวาระ 120 ปีแห่งชาตกาลของกุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือศรีบูรพา นักคิดนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ บทความนี้ได้นำเสนองานเขียนด้านพุทธศาสนาของศรีบูรพาคือ อุดมธรรม มีการจัดพิมพ์ในช่วงที่ผู้ประพันธ์ยังมีชีวิตอยู่เพียงเล่มเดียว
วันนี้ในอดีต
31
มีนาคม
2568
31 มีนาคม 2568 ในวาระ 120 ปี ชาตกาลของกุหลาบ สายประดิษฐ์ ขอรำลึกประวัติ ชีวิตผ่านผลงานวรรณกรรมในนามปลายปากกา “ศรีบูรพา“ นับตั้งแต่วัยเยาว์ ความรัก การเมือง อุดมคติ และพุทธศาสนา จนถึงยุคต่อต้านเผด็จการทหาร 2490
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
พฤษภาคม
2567
วิลาศ มณีวัต นักเขียนไทยผู้มีผลงานหลากรูปแบบ ครบรอบ100 ปี 16 พ.ค. 67 เคยทำงานสื่อมวลชนหลายตำแหน่ง เคยกล่าวถึงปรีดี พนมยงค์ ว่า "มันสมอง" คณะราษฎร ผลงานเด่นสายลมแสงแดด
แนวคิด-ปรัชญา
27
พฤษภาคม
2567
หลักฐานการสนทนาระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ และท่านพุทธทาสถึงหลักการของโครงการจัดตั้งสถานที่สำหรับใช้ประโยชน์ในด้านการฝึกปฏิบัติตนของพุทธศาสนิกชนตามหลักของพุทธศาสนา
บทสัมภาษณ์
27
พฤษภาคม
2566
117 ปี ชาตกาล พุทธทาสภิกขุ (27 พ.ค. 2449 - 2566) ชวนอ่านชีวประวัติย่อเบื้องต้นพร้อมวัตรปฏิบัติภายใต้ร่มเงาพุทธศาสนาของ 'พุทธทาสภิกขุ' ผ่านวิธีคิดทั้งทางทฤษฎีและการปฏิบัติซึ่งสะท้อนแนวทางที่มีลักษณะอิงอยู่กับธรรมชาติของมนุษย์สามัญ อันเป็นการเติบโตผ่านวันเวลาและการเรียนรู้พุทธศาสนาด้วยปัญญา
12
พฤษภาคม
2566
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม ที่ผ่านมาในวันปรีดี พนมยงค์ ประจำปี พ.ศ. 2566 สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดเสวนา PRIDI Talks #20: “ดุลยภาพแห่งอำนาจ” : เปลี่ยนผ่านสังคมไทยด้วยการเลือกตั้ง ขึ้น ณ ชั้น 9 อาคารอเนกประสงค์ 1 สถาบันไทยคดีศึกษา ห้องประชุมคึกฤทธิ์ ปราโมช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โดยได้รับเกียรติจากนักวิชาการ สื่อมวลชน และองค์กรเคลื่อนไหวภาคประชาชน ได้แก่ รศ.ดร.ไชยันต์ รัชชกูล, รศ.ดร.พวงทอง ภวัครพันธุ์, รศ.ดร.พิภพ อุดร, ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล และ ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ และ ผศ.อัครพงษ์ ค่ำคูณ เป็นผู้ดำเนินรายการ
6
พฤษภาคม
2566
ปรีดี - พุทธทาส “เทอดรัฐธรรมนูญ” 123 ปี ชาตกาล ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
กรกฎาคม
2565
นายสุภา ศิริมานนท์ ผู้เป็นกัลยาณมิตร (15 กรกฎาคม 2457 - 15 มีนาคม 2529)
แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2565
เป็นที่ทราบกันดีว่า ในปี ๒๖๕๕ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงกลางปีนั้น เป็นช่วงเวลาที่สำคัญอย่างยิ่งยวดต่อบันทึกประวัติศาสตร์ทางจิตวิญญาณและสังคมการเมืองของสยามประเทศ ด้วยเหตุเป็นช่วงครบรอบวาระ ๙๐ ปีแห่งเหตุการณ์ที่สำคัญยิ่ง ๒ เหตุการณ์ที่อุบัติขึ้นใกล้เคียงกัน
Subscribe to พุทธทาสภิกขุ