พูนศุข พนมยงค์
บทความ • บทสัมภาษณ์
3
พฤษภาคม
2564
ครั้งแรกกับท่านปรีดี และ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ที่ปารีสประเทศฝรั่งเศส พ.ศ. 2513 (1970) กับ ครั้งสุดท้ายในบางกอก สยามประเทศ (ไทย) พ.ศ. 2544 (2001)
บทความ • บทสัมภาษณ์
2
พฤษภาคม
2564
ในวันที่ 2 พฤษภาคม 2526 ในเวลาประมาณช่วงบ่ายๆ ดิฉันนั่งอยู่ที่วัดป่าจิตตวิเวก ประเทศอังกฤษ เพราะเดินทางไปกราบท่านเจ้าคุณปัญญาฯ เนื่องจากท่านเดินทางมาที่อังกฤษและมาพักที่วัด ระหว่างนั้นมีโทรศัพท์มาจากเมืองปารีส พระท่านก็ลุกขึ้นไปรับสาย และเดินกลับมาบอกว่า ท่านผู้หญิงพูนศุขโทรมาโดยอยากจะขอเชิญท่านเจ้าคุณปัญญาฯ ไปที่งานพิธีศพอาจารย์ปรีดี เพราะอาจารย์ปรีดีนั้น ได้เสียชีวิตแล้ว
ดิฉันนั่งอยู่ด้วยตรงนั้น ท่านเจ้าคุณปัญญาฯ ได้ตอบตกลงว่าไป
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
เมษายน
2564
นับจากการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของการเมืองการปกครองประเทศ ได้มีผู้แทนราษฎรชั่วคราวชุดแรกจำนวน 70 คน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก “คณะราษฎร” ทำการประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 โดยใช้ห้องโถงชั้นบนของพระที่นั่งอนันตสมาคมเป็นที่ประชุม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
24
เมษายน
2564
บ่ายวันอังคารที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ผมสบโอกาสเข้าร่วมสัมภาษณ์คุณสุดา และคุณดุษฎี พนมยงค์ บุตรีของนายปรีดี และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ พร้อมคุณยงจิตต์ สุนทร-วิจารณ์ หลานชายผู้ใกล้ชิดขณะพำนักอยู่ในฝรั่งเศส ระหว่างสนทนาตอนหนึ่ง คุณยงจิตต์กล่าวถึงการที่เคยขับรถยนต์พานายปรีดีเดินทางไปเยี่ยมหลุมฝังศพอาจารย์ชาวฝรั่งเศส ผู้ซึ่งนายปรีดีเคารพรักและนับถือมากๆ ณ สุสานต่างเมืองช่วงเดือนพฤศจิกายนเป็นประจำทุกๆ ปี
พอเล่าตรงจุดนี้ ผมจึงเอ่ยถามคุณยงจิตต์ว่า
“อาจารย์ชาวฝรั่งเศสคนนั้นคือใคร?”
“ใช่อาจารย์เลเดอแกร์หรือเปล่า?”
บทความ • บทบาท-ผลงาน
19
เมษายน
2564
ประวัติเดิมของ ‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’ (ดร.ปรีดี พนมยงค์) และผลงานของท่านที่ได้ทำใว้ให้แก่ประเทศชาติอย่างมหาศาล อันควรจารึกไว้เป็นประวัติศาสตร์ ได้มีผู้กล่าวขวัญถึง และ เขียนบันทึกเรื่องราวไว้อย่างมากมายในที่ต่างๆ แต่สิ่งหนึ่งซึ่งยังมิได้เขียนหรือบันทึกเรื่องราวขึ้นไว้ ข้าพเจ้าจึงเห็นสมควรเขียนขึ้นไว้ ณ ที่นี้ คือ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ดร.ปรีดี พนมยงค์) ได้ทำงานเกี่ยวกับงานราชทัณฑ์ไว้อย่างไรบ้าง
ข่าวสาร
5
เมษายน
2564
ในวันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 ที่ผ่านมา หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ร่วมกับ สถาบันปรีดี พนมยงค์ จัดฉายมรดกภาพยนตร์เรื่อง “พระเจ้าช้างเผือก” เนื่องในวาระครบรอบ 80 ปี วันฉายภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือกวันแรก เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2484
บทความ • บทบาท-ผลงาน
24
กุมภาพันธ์
2564
นายปรีดียังรู้สึกเสียใจกับข่าวที่ 4 อดีตรัฐมนตรี และ อดีตส.ส.ภาคอีสาน ซึ่งไม่ได้ร่วมการก่อการขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ ก็ถูกตำรวจจับกุมและถูกสังหารอย่างทารุณ ซึ่งตำรวจได้อ้างว่าเป็นฝีมือของ “โจรจีนมลายู” ที่มาชิงตัวผู้ต้องหา
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
14
กุมภาพันธ์
2564
เนื่องในวาระเทศกาลวันแห่งความรักของเดือนกุมภาพันธ์ ถ้าจะทดลองเอ่ยถึงลักษณะการเดินทางไปทัศนาจรด้วยกันของนายปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์อันเข้าเค้า ‘ฮันนีมูน’แล้ว ก็คงน่าสนใจไม่เบา ประกอบกับมีเกร็ดข้อมูลที่สามารถจะแจกแจงได้พอสมควร
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
13
กุมภาพันธ์
2564
แม้เวลาผ่านไปเนิ่นนาน แต่ดูเหมือนว่าความทรงจำของท่านผู้หญิงยังคงชัดเจน โดยเฉพาะเมื่อรำลึกถึงสิ่งต่าง ๆ ที่นายปรีดีทำเพื่อแผ่นดิน และ มวลราษฎรไทย และตัวท่านผู้หญิงก็ได้ต่อสู้เคียงข้างนายปรีดีมาโดยตลอดจากการถูกใส่ร้ายต่างๆ นานา ต่อสู้แม้ว่านายปรีดีจะล่วงลับไปแล้ว จนกระทั่งคิดว่ามีผู้เข้าใจนายปรีดีมากขึ้นจึงได้ยุติ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to พูนศุข พนมยงค์
19
มกราคม
2564
บางส่วนจากทัศนะของ 'สุทธิชัย หยุ่น' ที่ตั้งข้อสังเกตต่อชีวิตและการกระทำของนายปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์