ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พูนศุข พนมยงค์

เกร็ดประวัติศาสตร์
13
พฤศจิกายน
2563
จุดเริ่มต้นของการก่อสร้างเริ่มตั้งแต่เมื่อใด ที่ดินเดิมเป็นของใคร เรือนไทยสองหลังในอนุสรณ์สถานมาจากไหน ร่วมหาคำตอบได้จากบทความของ 'ดุษฎี พนมยงค์'
ชีวิต-ครอบครัว
7
พฤศจิกายน
2563
“อย่ายิง! ที่นี่มีแต่ผู้หญิงกับเด็ก” คือ ประโยคที่ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ตะโกนร้องสวนเสียงปืนกลจากรถถังที่มายิงทำเนียบท่าช้าง กลางดึกวันที่ 7 ต่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490
บทบาท-ผลงาน
1
พฤศจิกายน
2563
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงแล้ว ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้เดินทางไปกับนายปรีดี ในคณะทูตสันถวไมตรี ที่เดินทางไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลก เพื่อเจริญสัมพันธไมตรี และดำเนินการให้นานาชาติสนับสนุนให้ไทยเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กันยายน
2563
หลังจากนายปรีดี พนมยงค์ ถึงแก่อสัญกรรมที่ประเทศฝรั่งเทศ ในวันที่ 2 พฤษภาคม 2526 ม.จ.มารยาตรกัญญา ดิศกุล ได้มีลายพระหัตถ์ถึงท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ แสดงความเสียพระทัย
ชีวิต-ครอบครัว
26
กันยายน
2563
ความทรงจำของกลุ่มนักศึกษาที่มีต่อ "เพื่อนปาล" และของเพื่อนร่วมคุกคดีกบฏสันติภาพที่มีต่อ "คุณปาล"
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
กันยายน
2563
วาทะของปาล พนมยงค์ ในศาลอาญา ที่กล่าวกับท่านผู้หญิงพูนศุข ผู้เป็นมารดา เมื่อคราวที่เธอมาลาบุตรชาย ก่อนออกเดินทางไปประเทศจีน ในเดือนเมษายน 2496 ในระหว่างที่เขากำลังถูกดำเนินคดีในข้อหากบฏภายในและภายนอกราชอาณาจักร หรือที่รู้จักกันในนาม "กบฏสันติภาพ"
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2563
อ่านชีวประวัติอันผันผวนของนายปาล บุตรชายรัฐบุรุษอาวุโส พลทหารผู้กลายเป็นกบฏ ได้จากบทความของท่านผู้หญิงพูนศุขเรื่องนี้
บทบาท-ผลงาน
5
กันยายน
2563
บันทึกความทรงจำของศาสตราจารย์ ดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร ราชบัณฑิต ผู้เป็นหลานชายของนายปรีดี พนมยงค์ กล่าวถึงชีวิตธรรมดาของนายปรีดีในความทรงจำวัยเด็ก และประเมินความล้มเหลวผิดพลาดของนายปรีดีไว้ได้อย่างน่าสนใจ
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
กันยายน
2563
วันที่ 2 กันยายน 2488 ประธานโฮจิมินห์ได้ประกาศเอกราชของประเทศเวียดนาม ณ จตุรัสบาดิ่น กลางกรุงฮานอย
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
สิงหาคม
2563
"จารุบุตร เรืองสุวรรณ" เล่าเรื่อง "นิทานเสรีไทย" กล่าวถึงเบื้องหลังการทำงานเสรีไทยของนายปรีดี พนมยงค์ จากตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งแต่การติดต่อกับเสรีไทยในต่างประเทศ การติดต่อกับฝ่ายสัมพันธมิตร ไปจนถึงการเจรจาสถานะของประเทศไทยหลังสงคราม
Subscribe to พูนศุข พนมยงค์