ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รวินทร์ คำโพธิ์ทอง

บทบาท-ผลงาน
11
เมษายน
2567
ปัญหาการยึดแย่งที่ดินจากชาวนา การเอารัดเอาเปรียบจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกับรัฐ และความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นในสังคมสยาม เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้นายปรีดี พนมยงค์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคม นำไปสู่การอภิวัฒน์ในปี 2475
บทบาท-ผลงาน
1
เมษายน
2567
ประมวลรัษฎากรเป็นผลงานสำคัญของคณะราษฎร มุ่งปรับปรุงระบบภาษีให้เป็นธรรม ยกเลิกภาษีซ้ำซ้อน มีการเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชน และมีการแก้ไขอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ลดความเหลื่อมล้ำ ตลอดระยะเวลา 85 ปี
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มีนาคม
2567
ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ท่านเป็นผู้ที่มีเชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐศาสตร์ อีกทั้งยังได้ดำรงตำแหน่งทีสำคัญในหน่วยงานต่างๆ เช่น กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง, ธนาคารแห่งชาติ รวมถึงตำแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2567
การเกิดของคณะ ร.ศ. 130 มีจุดมุ่งหมายในการปกครองแบบตะวันตก ซึ่งจะทำให้ประเทศไทยนั้น มีความเจริญทัดเทียมกับนานาประเทศ
แนวคิด-ปรัชญา
22
กุมภาพันธ์
2567
ภาพรวมของสถิติ นิติรัฐ ความชอบธรรม ความยุติธรรม สิทธิมนุษยชนของประเทศไทยในบริบทสากล ยังพบว่ามีความขัดแย้งทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เหตุการณ์รัฐประหาร ปี 2557 จนกระทั่งการเคลื่อนไหวทางการเมืองของนักเรียน นิสิตนักศึกษาในปี 2563
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤศจิกายน
2566
เอกสารสำคัญและเรื่องราวที่มิเคยกล่าวถึงของการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกของสยามภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 โดยชี้ให้เห็นถึงความขับเคี่ยวและขัดแย้งระหว่างนายปรีดี พนมยงค์และพระยามโนปกรณ์นิติธาดา รวมไปถึงบรรยากาศและเรื่องราวของประชาชนจากหนังสือพิมพ์ประชาชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
พฤศจิกายน
2566
คัดสรรงานชิ้นสำคัญเพื่อรำลึกถึงประวัติชีวิต ประสบการณ์ และฝีไม้ลายมือการประพันธ์ของคุณระวิ ฤกษ์จำนง ที่ทรงคุณค่าโดยเฉพาะต่อผู้ที่สนใจประวัติศาสตร์ไทยและร่วมรุ่นในโรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
บทบาท-ผลงาน
1
พฤศจิกายน
2566
คลี่คลายปมความสงสัยเรื่องจุดยืนและความคิดทางการเมืองของนายปรีดีที่ได้ระบุไว้ในบทสัมภาษณ์เรื่อง “Pridi Through a looking glass” ว่าปรัชญาการเมืองของท่านคือ “สังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย”
บทบาท-ผลงาน
25
ตุลาคม
2566
รวบรวมผลงานเขียนของนายปรีดี พนมยงค์ที่สะท้อนให้เห็นถึงทัศนะและความคิดทางการเมืองของนายปรีดี ในช่วงทศวรรษ 2510 และเจาะไปถึงปัญหาความแตกต่าง ทั้งหลักการ ความคิด การเคลื่อนไหว และจุดตั้งต้นระหว่าง “คอมมิวนิสต์และสังคมนิยม”
แนวคิด-ปรัชญา
19
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ผู้เขียนย้อนกลับไปดูถึงการขยับ-เคลื่อนไปของรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย นับตั้งแต่จากมุมมองของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้จากปาฐกถาครบรอบ 50 ปีประชาธิปไตย จนกระทั่งในความหมายของประชาธิปไตยต่อการรัฐประหารครั้ง 19 กันยายน 2549 นี้
Subscribe to รวินทร์ คำโพธิ์ทอง