ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รวินทร์ คำโพธิ์ทอง

แนวคิด-ปรัชญา
5
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้นำเสนอถึงความคิดและทัศนะของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ที่ยังคงต่อการศึกษาในทางวิทยาศาสตร์และในทางสงคราม และการรับรู้ของรัฐบาลไทยและการจัดการในด้านพลังงานนิวเคลียร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2566
ชีวประวัติย่อของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ตลอดจนช่วงชีวิตในอังกฤษระหว่างที่สงครามโลกครั้งที่ 2 พร้อมทั้งบทบาทของพระองค์ในฐานะผู้สนับสนุนกิจการเสรีไทยสายอังกฤษในด้านต่างๆ อีกทั้งชีวิตในบั้นปลายของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ในช่วงทศวรรษที่ 2490 รวมไปถึงความสัมพันธ์ที่แนบแน่นระหว่างพระองค์ กับ ครอบครัวปรีดี - พูนศุข พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2566
การปกครองส่วนท้องถิ่นหรือการปกครองแบบมัธยวิภาค (Decentralisation) ให้อำนาจการออกแบบและดูแลเป็นของท้องถิ่นนั้นๆ ในระบบเทศบาล โดยมีระบบสภาเทศบาลและคณะมนตรีดูแลกิจการต่าง ๆ เหมือนรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
แนวคิด-ปรัชญา
20
กรกฎาคม
2566
แนวคิดเสรีนิยมประชาธิปไตย ปรากฏอยู่ในการรับรู้ของชนชั้นนำสยามและราษฎรตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 จากการเผยแพร่ของ The Bangkok Recorder ได้สร้างคุณูปการต่อการศึกษารัฐธรรมนูญของชนรุ่นหลังและเป็นส่วนหนึ่งที่นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือการอภิวัตน์ 2475
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2566
89 ปี สถาปนามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ย้อนอ่านประวัติศาสตร์ผ่านรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎรกว่าจะมาเป็นสถานศึกษาเพื่อราษฎรแห่งแรกของไทย
แนวคิด-ปรัชญา
22
พฤษภาคม
2566
วิธีต่อสู้เผด็จการของนายปรีดี พนมยงค์ รูปแบบของเผด็จการแบบประชาธิปไตยและการเข้าสู่การเมืองในระบบรัฐสภาหลัง พ.ศ. 2557 ว่ามีคำนิยาม ทฤษฎี และคำอธิบายระบอบเผด็จการร่วมสมัยอย่างไร และปัจจุบันประเทศไทยมีดัชนีความเป็นประชาธิปไตยเป็นไปในทิศทางไหนในมุมมองระหว่างประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤษภาคม
2566
ทบทวนประวัติศาสตร์ความเคลื่อนไหวภาคประชาชน และการเรียกร้องเพื่อยุติการสืบทอดของอำนาจนอกระบบจากเหตุการณ์ "พฤษภาประชาธรรม" พร้อมทั้งทัศนะของนายปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้ต่อประเด็นการต่อต้านระบอบเผด็จการและระบอบอำนาจนิยม
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤษภาคม
2566
ฉากชีวิตนับจากการเนรเทศถึงนิวัติไทยทั้งผลงานสำคัญ และการลี้ภัยครั้งแรกตราบจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์ จนถึงการนิวัติไทยในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
บทบาท-ผลงาน
27
เมษายน
2566
ผลการดำเนินงานตามนโยบายเศรษฐกิจที่ได้จากความพยายามของคณะผู้ก่อการอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อการปรับปรุงแก้ไขความป่วยไข้ทางเศรษฐกิจที่บ่อนเซาะชีวิตของราษฎรสยาม ผ่านการจัดทำพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร พุทธศักราช 2481
บทบาท-ผลงาน
19
เมษายน
2566
ย้อนรอยฉากหลังทางประวัติศาสตร์และสาระสำคัญของ พ.ร.บ.ว่าด้วยการเลือกตั้งฯ ฉบับแรก ตลอดจนข้อวิจารณ์ของนายปรีดี โดยกล่าวถึงคำชี้แจงของที่มา ตั้งคำถาม และข้อสังเกตถึงการแก้ไข พ.ร.บ.ว่าด้วยการเลือกตั้งฯ พ.ศ. 2475 ต่อพระยามโนปกรณ์ฯ พร้อมด้วยถ้อยแถลง 18 ข้อ ซึ่งสะท้อนถึงการต่อสู้ในระบบรัฐสภาและยืนยันในหลักการระบอบประชาธิปไตยของนายปรีดี
Subscribe to รวินทร์ คำโพธิ์ทอง