ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ระบบศักดินา

บทบาท-ผลงาน
28
พฤษภาคม
2567
การเปิดเสรีทางการค้าในสยามช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ทำให้การปลูกข้าวเพื่อการค้าขยายตัว แต่ชาวนายังคงยากจนเนื่องจากขาดการปฏิรูปโครงสร้างที่ดิน เทคนิคการผลิต และระบบภาษี ผลประโยชน์ตกอยู่กับนายทุนและขุนนางมากกว่า
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤศจิกายน
2566
วิถีแห่งการเปลี่ยนแปลงทั้งสองประการคือ วิถีวิวัฒน์และวิถีอภิวัฒน์ รวมไปถึงความหมายและรากที่มาของศัพท์ทางวิชาการอย่าง “ไดอาเล็คติคส์” ที่แปลได้ว่า ประติการ
แนวคิด-ปรัชญา
13
พฤศจิกายน
2566
ความสัมพันธ์ทางการผลิตและพลังในการผลิต ล้วนเกี่ยวโยงระหว่างเศรษฐกิจ การเมือง และทรรศนะทางสังคมที่ดำรงอยู่กับชีวปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้คนในแต่ละโครงสร้างสังคมที่เปลี่ยนแปลงเช่นกัน
แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤศจิกายน
2566
สถาบันและระบบการเมืองตั้งอยู่บนรากฐานแห่งสภาพความเป็นอยู่ทางชีวปัจจัยของสังคม กล่าวคือ ความต้องการในการดำรงชีพของมนุษย์เป็นตัวกำหนดรูปแบบของสถาบันและระบบการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
17
ตุลาคม
2566
พลวัตของฝ่ายเผด็จการว่ามีลักษณะและการแปรเปลี่ยนรูปแบบไปของเผด็จการอย่างไร ในช่วงอภิวัฒน์ฝรั่งเศสของกษัตริย์หรือชนชั้นเจ้าศักดินา และการเกิดขึ้นมาใหม่ของชนชั้นเจ้าสมบัติหรือนายทุนสมัยใหม่ที่เติบโตไปพร้อมกับโครงสร้างทุนนิยมที่ขยายใหญ่ขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
11
ตุลาคม
2566
ความหมายและความเข้าใจถึงคำว่า “เผด็จการ” ที่ปรากฏใช้ในสังคมไทยและทั่วโลกมีที่มา ความหมาย อย่างไรในเชิงนิรุกติศาสตร์หรือตามความหมายและการใช้คำที่ผันแปรไปตามสังคม พื้นที่/เวลา และรูปแบบของผู้ปกครองและระบอบที่ใช้ปกครอง
แนวคิด-ปรัชญา
27
กันยายน
2566
อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ได้ชี้ให้เห็นความเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลงสังคมตามปัจจัยสำคัญตามความต้องการใหม่ที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง
บทบาท-ผลงาน
9
เมษายน
2566
สืบสาวความคิดทางเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ผ่าน "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" โดยพิจารณาหลักการและความเข้าใจทางเศรษฐกิจของนายปรีดี ซึ่งได้รับอิทธิพลองค์ความรู้จากพัฒนาการความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ท่ามกลางพลวัตของโลกควบคู่ไปกับสภาพสังคมสยามในขณะนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
16
ตุลาคม
2564
การเคลื่อนไหวต่อสู้ระบบศักดินาเพื่อนำไปสู่ประชาธิปไตย จำเป็นไหมที่จะต้องใช้สันติวิธีหรือไม่ใช้สันติวิธี
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2564
1 เมษายน 2476 เป็นวันขึ้นปีใหม่ไทยในยุคสมัยนั้น แต่ ณ ห้วงเวลานั้น ได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกในภายใต้ระบอบใหม่ นำโดยนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย คือ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ซึ่งเป็นการรัฐประหารรัฐบาลตัวเอง ที่เรียกกันว่า "รัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกา"
Subscribe to ระบบศักดินา