ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัชกาลที่ 7

เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มิถุนายน
2566
ระบอบประชาธิปไตยต้องชะงักงันจนเกิดสุญญากาศทางการเมือง 'พระยาพหลพลพยุหเสนา' ร่วมกับคณะราษฎรจำนวนหนึ่ง จึงคิดหาทางแก้ไขสถานการณ์เพื่อนำระบอบประชาธิปไตยกลับเข้าสู่หลักการตามรัฐธรรมนูญดังเดิม ในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 พร้อมเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรในวันถัดมา
บทบาท-ผลงาน
20
มีนาคม
2566
อ่านความคิดด้านเศรษฐกิจของ "นายปรีดี พนมยงค์" ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์และอัตชีวประวัติ ได้แก่ คำชี้แจงเค้าโครงการเศรษฐกิจ, รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร และรายงานการประชุมกรรมานุการพิจารณาเค้าโครงการเศรษฐกิจ เพื่อทำความเข้าใจเค้าโครงการเศรษฐกิจ
บทบาท-ผลงาน
6
พฤศจิกายน
2565
แท้จริงแล้ว ความคิดที่จะสร้างหอประชุมมหาวิทยาลัยมิได้เพิ่งจะมาเริ่มในสมัย จอมพล ป. ดำรงตำแหน่งอธิการบดี แต่หากเคยมีความคิดที่จะจัดสร้างมาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในยุคที่ นายปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย
บทบาท-ผลงาน
15
ตุลาคม
2565
15 ตุลาคม พ.ศ. 2479 เป็นวันที่ทางราชการในสมัยรัฐบาลของพระยาพหลพลพยุหเสนา ได้สร้างอนุสาวรีย์ 17 ทหาร-ตำรวจขึ้น ณ ตำบลหลักสี่ อำเภอบางเขน จังหวัดพระนคร เพื่ออุทิศแด่ผู้ที่เสียชีวิตจากการเข้าร่วมปราบปรามกบฏบวรเดช ระหว่างวันที่ 11-24 ตุลาคม พ.ศ. 2476
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
สิงหาคม
2565
หนึ่งชีวิตที่ผ่านเรื่องราวนานัปการซึ่งเป็นหนึ่งบันทึกในบรรทัดประวัติศาสตร์การเมืองไทย อาทิเช่น บทบาทสำคัญในปฏิบัติการเสรีไทยสายอังกฤษที่ทำให้แผ่นดินสยามคงไว้ซึ่งเอกราช จวบเมื่อแผ่นดินรัชกาลที่ 9 ภายหลังเกิดการรัฐประหาร 2490 ท่านชิ้นได้เดินทางลี้ภัยออกนอกประเทศ และกลับสู่บ้านเกิดเมืองนอนอีกครั้งใช้ชีวิตอยู่ที่ "สวนเสมา" สงบ เย็น และเป็นประโยชน์
แนวคิด-ปรัชญา
21
สิงหาคม
2565
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางเศรษฐกิจกับสันติภาพและสงคราม มีความสัมพันธ์กันอย่างชัดเจน ซึ่งมีงานวิจัยและงานทางวิชาการที่ยืนยัน เวลาที่จะเกิดสงครามใหญ่มันจะเกิดสภาวะวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และสงครามก็นำมาสู่วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
สิงหาคม
2565
เรื่องราวเกร็ดประวัติศาสตร์ซึ่งเกี่ยวข้องกับปฏิบัติการของขบวนการเสรีไทย ผ่านการทำงานที่เต็มไปด้วยความยากลำบากและความท้าทายในทุกๆ สมรภูมิ
แนวคิด-ปรัชญา
12
กรกฎาคม
2565
การศึกษาประวัติศาสตร์คณะราษฎรในมุมมองใหม่เริ่มต้นราวปลายทศวรรษ 2520 ทั้งมีงานเชิงวิชาการที่เสนอการตีความเหตุการณ์ 24 มิถุนายน 2475 จากฝ่ายที่เห็นด้วยและเห็นต่างไว้ 4 รูปแบบ
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2565
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อมีบุคคลปริศนาเข้าเปลี่ยนป้าย “สะพานพิบูลสงคราม” บริเวณใกล้ๆ แยกเกียกกาย เป็นชื่อสะพาน “ดิ่น ท่าราบ”
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
เนื่องในวาระ 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยามของคณะราษฎร แทบจะไม่มีการเล่าถึงในวันที่ปรีดี พนมยงค์ และคณะราษฎร ถวายธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 แด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
Subscribe to รัชกาลที่ 7