รัชกาลที่ 7
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
17
สิงหาคม
2565
เรื่องราวเกร็ดประวัติศาสตร์ซึ่งเกี่ยวข้องกับปฏิบัติการของขบวนการเสรีไทย ผ่านการทำงานที่เต็มไปด้วยความยากลำบากและความท้าทายในทุกๆ สมรภูมิ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
กรกฎาคม
2565
การศึกษาประวัติศาสตร์คณะราษฎรในมุมมองใหม่เริ่มต้นราวปลายทศวรรษ 2520 ทั้งมีงานเชิงวิชาการที่เสนอการตีความเหตุการณ์ 24 มิถุนายน 2475 จากฝ่ายที่เห็นด้วยและเห็นต่างไว้ 4 รูปแบบ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2565
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อมีบุคคลปริศนาเข้าเปลี่ยนป้าย “สะพานพิบูลสงคราม” บริเวณใกล้ๆ แยกเกียกกาย เป็นชื่อสะพาน “ดิ่น ท่าราบ”
บทความ • บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
เนื่องในวาระ 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยามของคณะราษฎร แทบจะไม่มีการเล่าถึงในวันที่ปรีดี พนมยงค์ และคณะราษฎร ถวายธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 แด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
บทความ • บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
ในประกาศคณะราษฎร ลงวันที่ 24 มิถุนายน พุทธศักราช 2475 มีหลัก 6 ประการ ที่คณะราษฎรวางไว้ให้เป็นหัวใจของการดำเนินนโยบายภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเพื่อบำรุงชีวิตของราษฎรให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งหลักข้อ 6. คือ “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร”
ข่าวสาร
24
มิถุนายน
2565
๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ มีความสำคัญเพียงใดต่อประเทศชาติ ประชาชนและประชาธิปไตย เป็นสิ่งที่มีการถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์กันมานาน ด้วยจุดยืนทางการเมือง อคติทางการเมืองและผลประโยชน์ที่แตกต่างกันไป ข้อถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ต่อเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ ๙๐ ปีที่แล้ว จึงมีลักษณะของ “คำประกาศ” ของแต่ละฝ่ายมากกว่าเหตุผลหรือหลักฐานข้อเท็จจริง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
มิถุนายน
2565
‘ปรีดี พนมยงค์’ เป็นผู้เสนอให้เรียกการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ว่า “อภิวัฒน์” ซึ่งมาจากคำว่า “อภิ” หมายถึง ยิ่ง วิเศษ เหนือ กับคำว่า “วัฒน์” หมายถึง ความเจริญ ความงอกงาม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
16
มิถุนายน
2565
ณ ย่ำรุ่งของวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เกิดการอภิวัฒน์สยามโดยคณะราษฎร พระยาพหลพลพยุหเสนา อ่านแถลงการณ์คณะราษฎรฉบับแรก ณ ลานพระบรมรูปทรงม้า
บทความ • บทบาท-ผลงาน
10
มิถุนายน
2565
เมื่อมีอายุ 11 ปีในพุทธศักราช 2454 ข้าพเจ้าสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันและน่าแปลกใจอย่างยิ่งในวัฒนธรรมของชาวจีนโพ้นทะเลและในหมู่ลูกหลานของพวกเขา ซึ่งมีอยู่ราวร้อยละ 25 ของราษฎรทั้งหมดในประเทศสยาม กล่าวคือ ผู้ชายแทบทุกคนได้ตัดผมหางเปียของเขาออก ทั้งๆ ที่เป็นทรงผมที่พวกเขาไว้กันมานานหลายศตวรรษแล้ว พวกเขาอธิบายสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่นี้ให้ราษฎรชาวสยามฟังว่า ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบโบราณซึ่งบังคับให้พวกเขาไว้หางเปียอันน่าอับอายเช่นนี้ได้ถูกโค่นล้มแล้ว ด้วยการอภิวัฒน์ของฝ่ายสาธารณรัฐนำโดย ดร.ซุนยัดเซ็น ซึ่งในเวลานั้นได้เรียกร้องให้ชาวจีนทุกคนไว้ผมสั้นเช่นชาวยุโรป (ในสมัยนั้น)
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to รัชกาลที่ 7
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"