ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน

แนวคิด-ปรัชญา
24
ธันวาคม
2566
ช่วงสุดท้ายของงานเสวนา PRIDI Talks #23 x PBIC "รื้อ ร่าง สร้าง รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ ได้ถามคำถามสำคัญแก่ผู้ร่วมเสวนาทุกท่านถึงความคาดหวังที่มีต่อข้อสรุปของคณะกรรมการฯ ประกาศจะแถลงแนวทางประชามติสู่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในวันที่ 25 ธันวาคมนี้
แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2566
‘นายชัยธวัช ตุลาธน’ กล่าวติดตามข้อสรุปที่นายนิกรในฐานะโฆษกของคณะกรรมการที่รัฐบาลแต่งตั้งนำเสนอและการแจ้งถึงคณะกรรมการจะมีการประชุมในวันที่ 25 ธันวาคม รวมถึงกรณีการไต่สวนคดีการปกครองของพรรคก้าวไกลที่ถูกฟ้องครั้งแรก ซึ่งสะท้อนประเด็นปัญหาการเมืองของไทย
แนวคิด-ปรัชญา
22
ธันวาคม
2566
‘นิกร จำนง’ ได้กล่าวประเด็นถึงอีกก้าวสำคัญของการร่างรัฐธรรมนูญที่เปรียบเสมือนระบบปฏิบัติการ ที่จะต้องขับเคลื่อนประเทศชาติ ปรับโครงสร้างของชาติให้มั่นคง อีกทั้งยังทำหน้าที่ปรับแก้รัฐธรรมนูญอย่างต่อเนื่อง ในการประเทศชาติต้องมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
แนวคิด-ปรัชญา
21
ธันวาคม
2566
‘รศ.ดร.นันทนา นันทวโรภาส’ เปิดประเด็นหลักการสำคัญและข้อเสนอในการเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญ ที่มีการเชื่อมโยงกับประชาชน ปราศจากการครอบงำของอำนาจที่ไม่ชอบธรรม ซึ่งเป็นการได้มาของรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนอย่างแท้จริง
แนวคิด-ปรัชญา
19
ธันวาคม
2566
ผศ.ดร.พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย’ เปิดประเด็นถึง รัฐธรรมนูญฉบับ ปี 2560 พบปัญหาอยู่เยอะพอสมควร เริ่มต้นมีการใช้เทคนิคในการร่างที่ซับซ้อน เป็นผลพวงของการผนวกรวมกับรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ปี 2557
แนวคิด-ปรัชญา
18
ธันวาคม
2566
‘รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน’ กล่าวถึง เหตุที่รัฐธรรมนูญปี 2560 จึงสมควรเป็นโมฆะ โดยกล่าวถึง ลักษณะที่แปลกประหลาดของรัฐธรรมนูญ 2560 และมุมมองของผู้ปกครองที่มีต่อประชาชนโดยมีรัฐธรรมนูญเป็นเครื่องมือ
แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2566
'รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ' กล่าวเปิดเสวนาด้วยคำถามสำคัญที่ว่า ทำไมต้องมีรัฐธรรมนูญของประชาชน? ก่อนจะกล่าวถึงปัญหา 3 ประการจากรัฐธรรมนูญปี 2560 และความสำคัญของการร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนใหม่
แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2566
การแก้ไขปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทย ด้วยการรื้อถอนมรดกและผลพวงจากเผด็จการอำนาจนิยมของทหารที่ครอบงำการเมืองไทยมาตลอดหลายสิบปี สืบเนื่องมาตั้งแต่รัฐประหารปี 2490 ด้วยการสนับสนุนต่อการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่จำเป็นต้องยึดโยงกับประชาชนจึงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นในห้วงเวลานี้
แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2565
จากหัวข้อการเสวนา PRIDI Talks #18 × SDID : “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” นำไปสู่การร่วมหาคำตอบผ่านทัศนะของผู้ร่วมเสวนาทุกท่าน
แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2565
พิจารณาแกนหลักสำคัญผ่านรัฐธรรมนูญ คือการวางหลักประกันให้แก่สิทธิและเสรีภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน อีกทั้งนำเสนอหลักคิดและอุดมคติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ซึ่งแสดงทัศนะไว้ต่อประเด็นรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเชิงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้ถดถอยลง เพื่อถอดบทเรียนไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
Subscribe to รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน