รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2565
พิจารณาแกนหลักสำคัญผ่านรัฐธรรมนูญ คือการวางหลักประกันให้แก่สิทธิและเสรีภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน อีกทั้งนำเสนอหลักคิดและอุดมคติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ซึ่งแสดงทัศนะไว้ต่อประเด็นรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเชิงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้ถดถอยลง เพื่อถอดบทเรียนไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
9
ธันวาคม
2565
จุดเริ่มต้นระบอบรัฐธรรมนูญของประเทศ ภายหลังเมื่อเข้าสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งนำไปสู่การสถาปนารัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 10 ธันวาคม 2475 อันเป็นที่มาแห่งการรำลึกในนาม "วันรัฐธรรมนูญ" ของทุกๆ ปี รวมไปถึงขั้นตอน กระบวนการ และสาระสำคัญในการจัดทำรัฐธรรมนูญ ซึ่งท้ายที่สุดได้บรรลุผลเป็นหลักการกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศดังรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว อีกทั้งความสำคัญของการมีส่วนทางการเมืองของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2565
รากฐานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่ได้รับการขนานนามว่า "รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน" โดยถือกำเนิดขึ้นด้วยผลสืบเนื่องจากฉันทามติของประชาชนในสังคมเพื่อแก้ระบบและกลไกการเมืองที่เคยถูกแทรกแซงโดยกองทัพ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2565
โภคิน พลกุล รัฐสวัสดิการ คือ สิทธิของประชาชน PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
มีนาคม
2564
เวลา 09.00 - 17.30 น.ของวันเสาร์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2564 เรียกว่าเช้าจรดเย็นเลยทีเดียว ณ ศูนย์สร้างสรรค์การออกแบบ หรือที่คนเรียกขานติดปากว่า “TCDC” ภายในตึกอาคารไปรษณีย์กลาง บางรัก ได้มีการจัดกิจกรรม ‘PRIDI TALKS #9 X CONLAB รัฐธรรมนูญเพื่อประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ WORKSHOP ร่วมคิด ร่วมร่างอนาคตรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน’
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
มีนาคม
2564
ตลอดชีวิตของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ได้ทำมาตลอดชีวิตของท่าน คือการสร้างประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ให้กับชาติ “ประชาธิปไตยสมบูรณ์” นั้น หมายถึง ทั้งเรื่องของการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
20
มีนาคม
2564
การสร้าง “ประชาธิปไตยสมบูรณ์” ตามแนวคิดของอาจารย์ปรีดี จึงจำเป็นต้องมีการออกแบบโครงสร้างและสถาบันทางการเมืองที่สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศทั้งในทางนิตินัยและพฤตินัย และคุณค่าของรัฐธรรมนูญนั้นจะต้องมุ่งสถาปนาความเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
มีนาคม
2564
สมัยที่ท่านอาจารย์ปรีดีย้ายจากเมืองจีนไปฝรั่งเศสนั้น ท่านก็ได้รับการต้อนรับจากนักเรียนไทยหลายคนทีเดียว และนักเรียนไทยที่อยู่ในอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือเยอรมันก็ตาม ต่างก็ได้ตั้งคำถามกับท่านว่า “ไทยเรามีโอกาส มีทางที่จะได้ประชาธิปไตยโดยสันติวิธีหรือไม่ ?”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
18
มีนาคม
2564
รัฐธรรมนูญเพื่อประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ | PRIDI TALKS 9 | อนุสรณ์ ธรรมใจ