ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐประหาร 2490

บทบาท-ผลงาน
6
พฤศจิกายน
2563
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 นํามาซึ่งความชะงักงันของระบอบประชาธิปไตยของไทยที่ได้มีความพยายามที่จะผลักดันให้เกิดขึ้นในสมัยหลังสงครามโลก
บทบาท-ผลงาน
4
พฤศจิกายน
2563
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีความพยายามที่จะสถาปนาลัทธิรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ ให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากยิ่งขึ้น จึงเกิดเป็น "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489" อันเป็นฉบับที่ได้ชื่อว่า "เป็นฉบับนายปรีดี พนมยงค์" ซึ่งเป็นฉบับที่มีความเป็นประชาธิปไตยมากกว่าฉบับใด ๆ ที่เคยมีมา
บทสัมภาษณ์
22
ตุลาคม
2563
ในวัย 80 ปี (พ.ศ. 2523) นายปรีดี พนมยงค์ ได้ให้สัมภาษณ์กองบรรณาธิการ นสพ. ตะวันใหม่ ต่อคำถามที่ว่า “จุดอ่อนของการอภิวัฒน์ประชาธิปไตยเมื่อปี 2475 คืออะไร
แนวคิด-ปรัชญา
13
ตุลาคม
2563
เมื่อ 20 ปีก่อน ในช่วง 100 ปีชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ (พ.ศ. 2543) ศาสตราจารย์ ดร.เกษียร เตชะพีระ อ่านบทความ "จงพิทักษ์เจตนารมณ์ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของวีรชน 14 ตุลาคม" ของปรีดี พนมยงค์ แล้วตั้งข้อสังเกตที่น่าสนใจไว้หลายประการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
กันยายน
2563
วันที่ 2 กันยายน 2488 ประธานโฮจิมินห์ได้ประกาศเอกราชของประเทศเวียดนาม ณ จตุรัสบาดิ่น กลางกรุงฮานอย
แนวคิด-ปรัชญา
31
สิงหาคม
2563
นายถวิล อุดล (3 พฤศจิกายน 2452 - 4 มีนาคม 2492)  
ชีวิต-ครอบครัว
30
สิงหาคม
2563
อ่านประวัติของบุตรีของที่ 3 ของนายปรีดี ที่เริ่มเรียนเปียโนตั้งแต่เด็ก และกำลังจะแสดงเปียโนในคอนเสิร์ต ณ โรงละครอักษรา คิงพาวเวอร์ ในวันเสาร์ที่ 5 กันยายนนี้ ต่อได้ในบทความนี้
แนวคิด-ปรัชญา
6
สิงหาคม
2563
เมื่อกรกฎาคม 2480 กระทรวงการต่างประเทศไทยได้พิมพ์เอกสารเล่มเล็ก ๆ เล่มหนึ่งเป็นภาษาฝรั่งเศสชื่อ ประเทศสยามผู้รักความสงบ และนโยบายการต่างประเทศของรัฐบาลสยาม (Le Siam Pacifiste et la Politique Etrangere du Gouvernement Siamois) เอกสารนี้มีคําอธิบายบนหน้าปกใน ลักษณะเป็นชื่อหลั่นรองว่า “ข้อความจากสุนทรพจน์และคําแถลงต่อหนังสือพิมพ์ของ ฯพณฯ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งสยาม” รายการสุนทรพจน์และคําแถลงที่เสนอในเอกสาร มีดังนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
สิงหาคม
2563
บทบาทของนายสงวน ตุลารักษ์ ในหน้าประวัติศาสตร์เสรีไทย มีความชัดเจนและโดดเด่น ซึ่งหากจะพิจารณาอย่างเป็นธรรมและถ่องแท้แล้ว จะเห็นได้ว่าเป็นรองกว่าบุคคลอื่น ๆ ในขบวนการเสรีไทยทั้งภายในและภายนอกประเทศเพียงไม่กี่คนเท่านั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
กรกฎาคม
2563
“หัวเมืองไม่ได้รับการบำรุงอย่างใดเลย ปล่อยตามธรรมชาติ แต่มองดูมณฑลชั้นในโดยเฉพาะจังหวัดพระนคร จะเห็นว่าถูกบำรุงอย่างฟุ่มเฟือย ในเมื่อเทียบกันข้อนี้ชาวหัวเมืองได้พร่ำร้องมานานนักหนาแล้ว”
Subscribe to รัฐประหาร 2490