รัฐประหาร 2490
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มิถุนายน
2563
เป็นที่น่าเสียดายว่ากระแสประชาธิปไตยและปรีดีศึกษาที่ดูเหมือนกำลังไปได้ดีกลับถูกเหนี่ยวรั้งให้ชะลอตัวลงจากรัฐประหาร ๑๙ ก.ย.๒๕๔๙ รัฐบาลพลเรือนผ่านการเลือกตั้งต้องพ้นวงจรอำนาจไปอีกครั้ง รัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐ ถูกฉีกทิ้ง พร้อมกับระบอบขุนทหารฝ่ายอนุรักษ์นิยมกลับขึ้นมามีอำนาจ บุคคลจำนวนไม่น้อยที่เคยร่วมฉลองและมีส่วนในการฟื้นภาพลักษณ์นายปรีดี พนมยงค์ เริ่มเผยทัศนคติย้อนแย้งต่ออุดมการณ์ประชาธิปไตยด้วยการหันไปสนับสนุนเผด็จการทหาร
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
20
มิถุนายน
2563
2 พฤษภาคม 2536 เป็นวันที่นายปรีดี พนมยงค์ ได้ละโลกอันสับสนวุ่นวายไปสู่ที่ที่มีความสงบครบ 10 ปี ถึงแม้กาลเวลาจะล่วงเลยมานานแล้ว แต่เนื่องจากเราได้ร่วมชีวิตกันมาเป็นเวลากว่า 55 ปี จึงอดที่จะระลึกถึงความหลัง ซึ่งเป็นเรื่องส่วนตัวเฉพาะครอบครัว ไม่ได้ และเป็นชีวิตเสี้ยวหนึ่งของนายปรีดีที่ไม่ค่อยมีใครทราบ
บทความ • บทสัมภาษณ์
17
มิถุนายน
2563
โคทม อารียา เป็นผู้แทนสหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน สัมภาษณ์นายปรีดี.
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
13
มิถุนายน
2563
“ผมกับภรรยาสืบมาจากเชียดเดียวกัน”
ท่านปรีดี พนมยงค์ กล่าวตอนหนึ่งในการสนทนากับนายฉัตรทิพย์ นาถสุภา เมื่อเดือนเมษายน 2525 ถึงความสัมพันธ์ทางสายเลือดระหว่างท่านกับท่านผู้หญิงพูนศุข ผู้เป็นศรีภริยา
คําว่า “เชียด” นั้นเป็นคําโบราณที่ไม่ค่อยมีใครในปัจจุบันเรียกกัน หมายถึงพ่อของชวด (ทวด) ตามประวัติของท่านรัฐบุรุษอาวุโสนั้น เชียดของท่านมีบุตรอยู่หลายคน บุตรีคนหนึ่งชื่อปิ่นได้แต่งงานกับจีนก๊ก แซ่ตั้ง เป็นพ่อค้าเชื้อชาติจีน ทั้งสองมีบุตร หลายคนคนหนึ่งชื่อเกิด ได้แต่งงานกับนางคุ้ม มีบุตร 8 คน ชื่อ ฮวด ชุ้น แฟง ง้วย ใช้ ฮ้อ เสียง และบุญช่วย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to รัฐประหาร 2490
23
พฤษภาคม
2563
หนังสือชีวประวัติปรีดี พนมยงค์ เล่มแรก ตีพิมพ์ปีไหน? ใครเป็นคนเขียน? มีกี่เล่มที่สำคัญ?