รัฐประหาร 2490
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
12
ธันวาคม
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ร้อยเรียงเรื่องราวขยายภาพความสัมพันธ์ของปาล พนมยงค์ที่มีต่อมิตรสหายอย่าง ‘เยื้อน พานิชวิทย์’ และ 'สัมผัส พึ่งประดิษฐ์' จากบันทึกทางประวัติศาสตร์และบทสัมภาษณ์กับสัมผัส พึ่งประดิษฐ์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2566
ดร.โภคิน พลกุล และ ดร.ปรีชา สุวรรณทัต กล่าวถึงการรัฐประหาร 2490 อันเป็นจุดเปลี่ยนทางการเมืองครั้งสำคัญของไทย ส่งผลให้ท่านปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยออกนอกประเทศไปอย่างถาวร เพื่อใหัควรมกระจ่างแก่สังคมในประเด็นต่อไปนี้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
7
พฤศจิกายน
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เหตุใดจึงเรียกขานชื่อวิลาศ โอสถานนท์ว่า “เหล็กฝรั่งแห่งการเมืองไทย” “ลูกชายเจ้าเมือง” หรือชื่อที่ว่า “ลูกเขยนักหนังสือพิมพ์ชาวจีน” และปาฐกถาว่าด้วยภัยทางอากาศ ซึ่งร้อยเรียงผ่านเรื่องราวชีวิตของท่าน
บทความ • บทสัมภาษณ์
13
ตุลาคม
2566
จุดเปลี่ยนสำคัญของกรมราชทัณฑ์ เกิดขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 รัฐบาลคณะราษฎรได้ให้ความสำคัญกับการดูแลนักโทษมากขึ้น โดยนายปรีดี พนมยงค์ ได้นำเอาความรู้เกี่ยวกับอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยาสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้กับงานราชทัณฑ์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ผู้เขียนย้อนกลับไปดูถึงการขยับ-เคลื่อนไปของรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย นับตั้งแต่จากมุมมองของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้จากปาฐกถาครบรอบ 50 ปีประชาธิปไตย จนกระทั่งในความหมายของประชาธิปไตยต่อการรัฐประหารครั้ง 19 กันยายน 2549 นี้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2566
การก่อกำเนิดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองเป็นไปตามเจตนารมณ์ของคณะราษฎร ด้วยความมุ่งหวังให้ประชาชนสามารถมีโอกาสศึกษาเล่าเรียนเพื่อเป็นกำลังสำคัญและเป็นสายธารที่รับใช้ประชาชน และช่วยให้ระบอบประชาธิปไตยดำเนินสืบต่อไป
บทความ • บทบาท-ผลงาน
13
สิงหาคม
2566
การหายสาบสูญของหะยีสุหลง อับดุลกอเดร์ โต๊ะมีนา พร้อมบุตรชาย และผู้ติดตามรวม 4 คน เมื่อ13 สิงหาคม 2497 เกิดขึ้นในช่วงของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ที่ใช้อำนาจปกครองแบบเผด็จการ โดยละเลยการรักษาเอกลักษณ์ของชาวมุสลิมผู้นับถือศาสนาอิสลาม ทั้งๆที่หะยีสุหลงมิใช่กบฎแบ่งแยกดินแดน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2566
ความคิดเพียงว่า ขบวนการเสรีไทยเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อปกป้องหรือรักษาเอกราช ได้บดบังสาระสำคัญที่ซ่อนอยู่บางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุดมการณ์เพื่อสันติภาพ อธิปไตย และการฟื้นคืนประชาธิปไตย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
30
พฤษภาคม
2566
รำลึก 62 ปี การจากไปของครูครอง จันดาวงศ์ ลูกอีสานผู้รักชาติ รักประชาชน รักประชาธิปไตย โดยข้อเขียนของสัมผัส พึ่งประดิษฐ์ ผู้ได้ร่วมทุกข์ ร่วมสุขในยามยากลำบากพร้อมกับครูครอง จันดาวงศ์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to รัฐประหาร 2490
2
เมษายน
2566
อ่านจุดเชื่อมโยงและความสัมพันธ์ระหว่าง 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' และ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านข้อเขียนเรื่อง "รัฐบุรุษอาวุโสกลับคืนสู่มาตุภูมิ" และ "การลาออกของนายปรีดี" บทความของกุหลาบซึ่งได้ตีพิมพ์ไว้เมื่อปี พ.ศ. 2490