ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐประหาร 2490

เกร็ดประวัติศาสตร์
10
กุมภาพันธ์
2564
อาจกล่าวได้ว่า กบฏเสนาธิการหรือกบฏนายพลนี้ เป็นผลผลิตของการต่อต้านรัฐประหารภายในกองทัพบกเอง ซึ่งสุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ได้มองว่าเป็นการเคลื่อนไหวครั้งนี้ได้เกิดขึ้นจากปัจจัย 2 ประการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
กุมภาพันธ์
2564
รัฐประหาร 2490 เป็นเครื่องเตือนให้รู้ว่า ตราบใดที่การแข่งขันทางการเมืองยังมิได้ขยายฐานแห่งอำนาจไปสู่ประชาชน การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองโดยการใช้กำลังย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
กุมภาพันธ์
2564
รัฐประหาร 2490 นั้นมิได้มีความสำคัญเฉพาะในทางการเมือง ซึ่งการรัฐประหารในครั้งนี้ไม่ได้ฉุดรั้งการพัฒนาของประชาธิปไตยไทยแต่เพียงอย่างเดียว แต่การรัฐประหาร 2490 นั้นได้ผลักดันแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยให้เป็น “ทุนนิยมโดยรัฐ” แบบเข้มข้น โดยเอื้อประโยชน์ให้ส่วนตัวและให้ความคุ้มครองแก่พ่อค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อสงครามเย็นเริ่มต้น การเข้ามามีบทบาทของพญาอินทรี ทำให้เกิดความสัมพันธ์สามฝ่ายระหว่าง ขุนศึก พ่อค้า และพญาอินทรี
แนวคิด-ปรัชญา
7
กุมภาพันธ์
2564
นายปรีดี พนมยงค์ ได้ถ่ายทอดเรื่องราวในคืนหลังจากเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ไม่ว่าจะเป็นหนทางหลบหนี, มิตรสหายที่ได้ทำการช่วยเหลือ หรือ แม้กระทั่งเหตุการณ์ไม่คาดคิดที่ตัวท่านเองได้ประสบพบเจอ
บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2564
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ได้บอกกับเราว่า "เพราะเหตุใดการขึ้นสู่อำนาจของคณะรัฐประหาร จึงก่อให้เกิดผลในการทำลายประชาธิปไตย และล้มล้างลัทธิธรรมนูญได้ถึงเพียงนี้"
แนวคิด-ปรัชญา
4
กุมภาพันธ์
2564
รุ่งขึ้นของเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 4 ของประเทศไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2564
ผู้ก่อการรัฐประหารส่วนใหญ่เป็นนายทหารนอกประจำการ เริ่มแรกบรรดาผู้ก่อการต่างคนต่างคิดมีทั้งหมด 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีพวกพ้องของตนโดยเฉพาะที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งทั้ง หมดได้มาพบปะและรู้ความประสงค์ซึ่งกันและกัน โดยใช้วัตถุประสงค์ที่ร่วมกันร่างเป็น "ข้ออ้าง" ในการกระทำรัฐประหารในครานั้น
บทสัมภาษณ์
2
กุมภาพันธ์
2564
ก่อนหน้าที่จะมีรัฐประหาร มีข่าวลือว่าจะเกิดปฏิวัติรัฐประหาร หนังสือพิมพ์ศรีกรุง ฉบับประจำวันที่ 28 พฤศจิกายน 2489 ลงข่าวว่ารัฐบาลสั่งเตรียมพร้อม เนื่องจากว่ามีข่าวเรื่องนายทหารชั้นประทวนคบคิดกันจะใช้กำลังล้มล้างรัฐบาลในเดือนกรกฎาคม 2490
บทสัมภาษณ์
13
มกราคม
2564
อ่านบทสัมภาษณ์ธิดาทั้งสองคนของท่านผู้หญิงพูนศุข ถึงบทบาทสำคัญของมารดาในฐานะผู้อยู่เคียงข้างผู้นำ อย่างนายปรีดี พนมยงค์
ชีวิต-ครอบครัว
12
มกราคม
2564
ความทรงจำของครูฉลบชลัยย์ พลางกูร ซึ่งกลายมาเป็นคนใน 'ครอบครัวเดียวกัน' กับท่านผู้หญิงพูนศุข หลังการเสียชีวิตของ 'จำกัด' สามีของเธอในภารกิจเสรีไทย
Subscribe to รัฐประหาร 2490