ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วาณี พนมยงค์

ชีวิต-ครอบครัว
13
มกราคม
2567
ปลายได้เล่าถึงประสบการณ์ที่เธอได้พบเจอและเรียนรู้มากมาย ไม่ว่าจะเป็นในด้านการศึกษา วัฒนธรรม และการเมือง
ชีวิต-ครอบครัว
6
มกราคม
2567
ปลายเสียใจมากที่สูญเสียอันช่ากับหวงหวงไป เหตุการณ์นี้ทำให้ปลายเข้าใจถึงความสำคัญของความรักและความผูกพัน
ชีวิต-ครอบครัว
2
ธันวาคม
2566
ปลายได้อ่านหนังสือโรบินสันครูโซ ที่สองพี่น้องโซญ่าชูราชอบอ่าน ตั้งแต่หน้าแรกจนหน้าสุดท้าย ปลายอ่านแบบวางหนังสือเล่มนี้ไม่ลง
ชีวิต-ครอบครัว
26
พฤศจิกายน
2566
ปลายประสบกับปัญหาความแตกต่างทางภาษาอีกครั้งหนึ่ง ที่เธอต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ ซึ่งอาจเป็นเรื่องยากลำบากอยู่บ้าง แม้เธอจะยังพูดไม่เก่งแต่ก็สามารถอยู่ร่วมกับเพื่อนๆ ได้
ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤศจิกายน
2566
ปลายต้องย้ายจากปักกิ่งไปกว่างโจ๊ว เธอจึงต้องจากลาเพื่อนรักและสภาพแวดล้อมที่คุ้นเคย ทำให้เกิดความรู้สึกเศร้าและเสียใจ
ชีวิต-ครอบครัว
4
พฤศจิกายน
2566
ปลายได้มีโอกาสไปทัศนศึกษาที่กำแพงเมืองจีนกับเพื่อนร่วมชั้นของเธอ ปลายรู้สึกเหมือนตัวเองกำลังเดินอยู่บนประวัติศาสตร์ เธอได้สัมผัสกับอดีตอันยิ่งใหญ่ของประเทศจีน อีกทั้งเธอยังได้ร่วมปลูกต้นไม้ซึ่งเป็นโครงการของรัฐบาลจีนเพื่อเป็นแนวป้องกันลมและทรายอีกด้วย
ชีวิต-ครอบครัว
31
ตุลาคม
2566
รวบรวมถึงเรื่องราว เรื่องเล่า และบรรยากาศภายใน “บ้านศรีบูรพา” ผ่านบุคคลที่เคยร่วมงานกัน สะท้อนถึงความเป็นเสมือนลมใต้ปีกที่ทำให้บ้านศรีบูรพามีชีวิตชีวาของคุณวาณีสะใภ้แห่งบ้านศรีบูรพาในฐานะศูนย์กลางของเรื่องราวอันควรรำลึกถึง
ชีวิต-ครอบครัว
22
ตุลาคม
2566
การเติบโตและการเปลี่ยนแปลงของสังคมจีน ผ่านมุมมองของเด็กหญิงคนหนึ่งที่มีโอกาสได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมสำคัญของประเทศ ผ่านการเดินสวนสนามในครั้งนี้ ปลายรู้สึกตื่นเต้นและภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์
ชีวิต-ครอบครัว
8
ตุลาคม
2566
บอกเล่าถึงดอกเหมยที่บานสะพรั่งอย่างงดงาม สื่อถึงความสดใสและความหวังของผู้คนที่เริ่มต้นในวันปีใหม่ โดยในคืนสุกดิบ ปลายได้มีโอกาสไปฉลองวันตรุษจีนกับครูจิ้นผู้เป็นอาจารย์ที่เมตตาและใจดี คอยดูแลเอาใจใส่ปลายมาโดยตลอด
ชีวิต-ครอบครัว
1
ตุลาคม
2566
เด็กหญิงมีความใฝ่ฝันอยากเป็นนักกีฬา แต่เธอไม่มั่นใจในตัวเอง จึงลังเลที่จะเข้าร่วมทีมบาสเกตบอล แต่ด้วยความช่วยเหลือจากผิงผิง เพื่อนสนิทของเธอ ปลายจึงกล้าที่จะก้าวออกมาทำตามความใฝ่ฝัน และเธอก็ประสบความสำเร็จในที่สุด
Subscribe to วาณี พนมยงค์