วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร
บทความ • บทบาท-ผลงาน
19
กุมภาพันธ์
2564
“ถ้ารัฐธรรมนูญฉบับใดให้ถือมติปวงชนเป็นใหญ่ และให้สิทธิของมนุษยชนแก่ประชาชน รัฐธรรมนูญฉบับนั้นก็เป็นประชาธิปไตย. ถ้ารัฐธรรมนูญฉบับใดถือตามความเห็นชอบของอภิสิทธิ์ชน และจำกัดสิทธิมนุษยชนที่ประชาชนพึงมีได้ รัฐธรรมนูญนั้นก็ไม่ใช่ประชาธิปไตย”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มกราคม
2564
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นอย่างไรบ้าง อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากบทความของศาสตราจารย์ ดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มกราคม
2564
คืนวันเสาร์ที่ 7 ธันวาคม 2484 ประเทศไทยได้เผชิญกับเหตุการณ์ที่น่าสะพรึงกลัวที่สุดในประวัติศาสตร์แห่งยุครัตนโกสินทร์ เมื่อญี่ปุ่นยื่นความจำนงของเดินทัพผ่านไทย ไปโจมตีมลายูและพม่า ซึ่งในขณะนั้นเป็นอาณานิคมของอังกฤษ
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
8
มกราคม
2564
ความเป็นมาของตระกูล 'ณ ป้อมเพชร์' และความสัมพันธ์ทางเครือญาติของอดีตนายกรัฐมนตรี 3 นายของไทย คือ ปรีดี พนมยงค์, ทักษิณ ชินวัตร และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
8
พฤศจิกายน
2563
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 ได้ยุติบทบาททางการเมืองในประเทศไทยของนายปรีดี พนมยงค์ โดยสิ้นเชิง และตามมาด้วยความพยายามของฝ่ายที่เป็นปรปักษ์ในทุกวิถีทางที่จะทำลายล้างท่านรัฐบุรุษอาวุโสอย่างที่ไม่เคยมีบุคคลใดเคยประสบมาแต่ก่อน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
2
พฤศจิกายน
2563
หลังลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2489 แล้ว นายปรีดี พนมยงค์ ได้รับเชิญจากรัฐบาลหลายประเทศให้ไปเยือนประเทศเหล่านั้น
บทความ • บทบาท-ผลงาน
30
ตุลาคม
2563
"ที่กล่าวมานี้ เพียงแต่แสดงความหวังให้ท่านถึงฟิวเจอร์หรืออนาคตของเราว่าไม่มืดมน พอมองเห็นแสงสว่าง" -- ปรีดี พนมยงค์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
กันยายน
2563
บันทึกความทรงจำของศาสตราจารย์ ดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร ราชบัณฑิต ผู้เป็นหลานชายของนายปรีดี พนมยงค์ กล่าวถึงชีวิตธรรมดาของนายปรีดีในความทรงจำวัยเด็ก และประเมินความล้มเหลวผิดพลาดของนายปรีดีไว้ได้อย่างน่าสนใจ
6
กรกฎาคม
2563
ผู้เขียน : วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร
พิมพ์ที่ : เรือนแก้วการพิมพ์, กรุงเทพมหานคร
พิมพ์ครั้งที่ : 2
ปีที่พิมพ์ : 2543
จำนวนหน้า : 35 หน้า
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร
23
พฤษภาคม
2563
หนังสือชีวประวัติปรีดี พนมยงค์ เล่มแรก ตีพิมพ์ปีไหน? ใครเป็นคนเขียน? มีกี่เล่มที่สำคัญ?